สัญญาณเตือนภัยการตกแต่งบัญชีในงบการเงิน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

วันสิริ ประเสริฐทรัพย์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสัญญาณเตือนภัย การตกแต่งบัญชีในงบการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยใช้แนวทางพิจารณาสัญญาณเตือนภัยการตกแต่งบัญชีในงบการเงิน จากแนวคิดปัญหาตัวแทน ทฤษฎีสามเหลี่ยมทุจริต การกำกับดูแลกิจการ และการวิเคราะห์งบการเงิน สรุปสัญญาณเตือนภัยการตกแต่งบัญชีในงบการเงิน ได้แก่ อัตราส่วนทางการเงิน การตกแต่งบัญชีสินทรัพย์หรือหนี้สิน การรับรู้รายได้หรือค่าใช้จ่าย กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน รายการระหว่างบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน รายการที่ใช้ดุลยพินิจผู้บริหาร ความอิสระของคณะกรรมการบริษัท แรงจูงใจ โอกาส และการหาเหตุกระทำผิด ความอิสระของผู้สอบบัญชี และการแสดงความเห็นรายงานของผู้สอบบัญชี เพื่อเป็นประโยชน์นักลงทุนในการนำไปใช้ในการติดตามข้อมูลการลงทุน ให้รู้ทันฐานะการเงินและผลการดำเนินงานที่แท้จริงของบริษัท ความมีประสิทธิผลตามหลักการกำกับดูแลกิจการ และข้อระมัดระวังในการปฏิบัติงานตรวจสอบของผู้สอบบัญชี

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลชนก สกุลเจริญ. (2562). ผลกระทบของการตกแต่งบัญชีและการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณทิต). มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

เจษฎา เจริญสันติพงศ์. (2565). วิเคราะห์งบการเงินเบื้องต้น ก่อนตัดสินใจลงทุน. https://www.setinvestnow.com/th/knowledge/article/111-tsi-analyze-financial-statement-before-investing-in-stocks.

ณปภัช จารุแพทย์ และพรพิพัฒน์ จูฑา. (2563). สัญญาณเตือนภัยการตกแต่งบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์, 4(2), 42-55.

ธีรยุทธ์ รัตนโพธิ์แสงศรี และสันสกฤต วิจิตรเลขการ. (2554, 1-4 กุมภาพันธ์). ผลกระทบของค่าบริการอื่นที่ไม่ใช่ค่าสอบบัญชีต่อคุณภาพกำไร [เอกสารนำเสนอ]. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ, ประเทศไทย.

ลงทุนแมน. (2566). Deloitte ในปักกิ่ง ถูกสั่งปิด 3 เดือน ปรับ 1,000 ล้าน. https://www.longtunman.com/44614.

วันสิริ ประเสริฐทรัพย์. (2564). การกำกับดูแลกิจการ การเลือกผู้สอบบัญชี และมูลค่ากิจการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีผลประเมินการกำกับดูแลกิจการระดับดีเลิศ. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 18(1), 140-163.

วันสิริ ประเสริฐทรัพย์. (2565). อิทธิพลคุณลักษณะของคณะกรรมการตรวจสอบที่มีผลต่อการแสดงความเห็นแบบที่เปลี่ยนแปลงไปในประเทศไทย. วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล, 8(2), 14-24.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559ก). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริตในการตรวจสอบงบการเงิน. https://acprostd.tfac.or.th/test_std/uploads/files/TSA/2566_TSA240.pdf.

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559ข). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 265 การสื่อสารข้อบกพร่องของการควบคุมภายในไปยังผู้มีหน้าที่ในการกำกับดูแลและผู้บริหารของกิจการ. https://acprostd.tfac.or.th/test_std/uploads/files/TSA/2566_TSA265.pd.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2560). หลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำหรับบริษัทจดทะเบียน. https://www.sec.or.th/TH/Documents/CompanyHandbooksandGuidelines/CGcode2560_th.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2561). ข่าว ก.ล.ต. https://www.sec.or.th/TH/Pages/News_Detail.aspx?SECID=6908&NewsNo=2&NewsYear=2561&Lang=TH.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2564). ข่าว ก.ล.ต. https://www.sec.or.th/TH/Pages/News_Detail.aspx?SECID=8883.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2566ก). ข่าว ก.ล.ต. https://weblink.set.or.th/dat/news/202311/0832NWS301120231704140152T.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2566ข). ข่าว ก.ล.ต. https://www.sec.or.th/TH/Pages/News_Detail.aspx?SECID=10241.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2566ค). ข่าว ก.ล.ต. https://www.sec.or.th/TH/Pages/News_Detail.aspx?SECID=9885.

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2567). ข่าว ก.ล.ต. https://www.sec.or.th/TH/Pages/News_Detail.aspx?SECID=10597.

Cressey, D. R. (1953). Other people’s money: a study in the social psychology of Embezzlement. Glencoe, IL: The Free Press.

Hamdan, A. (2020). The role of the audit committee improving earnings quality: The case of industrial companies in GCC. Journal of International Studies, 13(2), 127-138.

Rezaee, Z. & Kedia, B. L. (2012). Role of corporate governance participants in preventing and detecting financial statement fraud. Journal of Forensic &Investigative Accounting, 4(2), 176-205.

Sawangarreerah, S. & Thanothamathee, P. (2021). Detecting and Analyzing Fraudulent Patterns of Financial Statement for Open Innovation Using Discretization and Association Rule Mining. Journal of Open Innovation: Technology, Market, and Complexity, 7(2), 1-18.