The Study on Ethical Principles of School Administrators as Perceived by Teachers Level Individuals schoolmasters in Takpha Taklee school. Province under Office of Secondary Educational Service Region 42. Nakhon Sawan

Authors

  • เสวียน เจนเขว้า อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสวียน เจนเขว้า คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร
  • เฉลิมพร ติยะกว้า นักศึกษาปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
  • กานดา สุขทุม อาจารย์ประจำาคณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
  • อินทิรา มุงเมือง อาจารย์ประจำาคณะวิทยาการจัดการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค

Keywords:

ethical principles of school administrators

Abstract

                This study aimed to study and compare ethical principles of school administrators according to teachers’ opinions in Takpha Taklee school Province under the Office of Secondary Educational Service Region 42.
                The study has been concerned professional ethics of school administrators as classified by gender and official working experience. The sample of this study consisted of 175 school teachers in secondary schools in Takpha Taklee school Province under the Office of Secondary Educational Service Region 42 Nakhon Sawan. The research tool in this study was a 50 – item rating scale questionnaire. The reliability coefficient of the questionnaire was 0.85. The statistical analysis of data employed percentage, mean, standard deviation and t-test.
                The results of the study were as follows:
                The teachers’ opinions towards code of conduct of the administrators as a whole was at highest level ( x̄ = 4.52). When considering in each aspect it was found that the highest mean recipient ethics ( x̄ = 4.54). The second was collaborator ethics ( x̄ = 4.53). The third was own self ethics and social ethics ( x̄ = 4.52). The least mean score was one’s recipient ethics own self ethics ( x̄ = 4.49).
                The comparison of teachers’ opinions in Takhli District found that there was no statistical significant difference in all aspects according to gender and official working experience.

References

คมสัน บุพศิริ. (2547). พฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.

เครือวัลย์ ลิมปิยะศรีสกุล. (2543). มนุษย์สัมพันธ์ในการทำงานของบุคลากรในการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน.

จิราภรณ์ ทองศรี, และคณะ. (2553). คุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์คุรุศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, ลพบุรี.

ตินปรัชญพฤทธิ. (2542). ข้อมูลเกี่ยวกับพันธะทางสังคม ความรู้รับผิดชอบต่อสังคม วิชาชีพนิยมและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรม สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

ธนสาร บัลลังก์ , และ ปัทมา เบญจภาคี. (2552). คุณสมบัติของคนที่จะเป็นผู้บริหาร. สืบค้นเมื่อวันที่ 7 กันยายน 2558, จาก http://www.gotoknow.org/posts/359783

ธีระ รุญเจริญ. (2545). ผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. นครราชสีมา : สหมิตรพรินส์ติ้ง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). วิธีการสร้างสถิติสำหรับการวิจัย.(พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

บุญร่วม คิดการ. (2545). การปฏิบัติตามคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครพนม. วิทยานิพันธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม .

บุรัญชัย จลกลณี. (ม.ป.ป.) คุณธรรมและจรยธรรมของผู้บริหาร. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .

Downloads

Published

2019-07-17

Issue

Section

Research Articles