ศึกษาองค์ประกอบบทบาทครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษาโรงเรียนเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 13 ตรัง - กระบี่ ปีการศึกษา 2566
คำสำคัญ:
องค์ประกอบ, บทบาทครูพลศึกษา, ในศตวรรษที่ 21, เขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 13 ตรัง - กระบี่บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบบทบาทครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21 กรณีศึกษาโรงเรียนเขตพื้นที่มัธยมศึกษาเขต 13 ตรัง - กระบี่ ปีการศึกษา 2566 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา เครื่องมือคือแบบสอบถามวิเคราะห์ใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 360 คน องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA)
ผลการวิจัยพบว่า 1)การทดสอบความเหมาะสมในการวิเคราะห์องค์ประกอบโดยใช้การทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ด้วยวิธีของเพียร์สัน (Pearson´s Product-moment Correlation Coefficient) พบว่า มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2)การทดสอบความเหมาะสมของข้อมูลด้วยดัชนี KMO (Kaiser-Meyer-Olkin Measure of Sampling Adequacy) พบว่า ค่าดัชนี Kaiser-Mayer-Olkin Measures of Sampling Adequacy (MSA) มีค่าเท่ากับ 0.92 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.6 และค่าสถิติของ Bartlett's test of Sphericity มีค่าเท่ากับ 22830.56 มีนัยสำคัญทางสถิติ (p=.00) แสดงว่า ตัวแปรทั้งหมดมีความสัมพันธ์ระหว่างกันในขณะที่เหมาะสม นำไปวิเคราะห์องค์ประกอบได้ในเกณฑ์ดีมาก 3)ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบบทบาทครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของครูพลศึกษาโรงเรียนมัธยม ศึกษาเขต 13 ตรัง - กระบี่ ปีการศึกษา 2566 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้ร้อยละ 84.553 โดยเรียงลำดับตามค่า Eigenvalues จากมากไปน้อย คือ 1) บทบาทครูพลศึกษา ด้านความรู้ และทักษะการสอน (9.484) 2) บทบาทครูพลศึกษาด้านบริการจัดการ (7.021) 3) บทบาทครูพลศึกษาด้านการจัดการเรียนรู้ (6.044) 4) บทบาท ครูพลศึกษาด้านจรรยาบรรณความเป็นครู (4.151) 5) บทบาทครูพลศึกษาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี (3.740)
References
ฉัตรพันธ์ ดุสิตกุล. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อพฤติกรรมก้าวร้าว
ของนักเรียนประถมศึกษา. ครุศาสารทมหาบัณฑิต (สุขศึกษาและพลศึกษา). คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานการเป็นผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่
วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 12(1). 1-9.
ชาลี ไตรจันทร์. (2551). การกำหนดและประเมินสมรรถนะบุคลากรภาครัฐที่เหมาะสมในพื้นที่ 3
จังหวัดชายแดนภาคใต้. สืบค้นจาก http://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2553/
/2/294256.pdf
ดาราวรรณ สุขคันธรักษ์. (2557). ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการบริหารงานวิซาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเชียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ธงชัย สันติวงษ์. (2541). ทฤษฎีองค์การและการออกแบบองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.
นนชัย ศานติบุตร. (2550). การนำเสนอรูปแบบการพัฒนาฟุตบอลอาชีพของประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ. DOI=10.14457/CU.the.2007.890
นิสดารก์ เวชยานนท์. (2553). Competency-Based Approach. (พิมพ์ครั้งที่ 4). นนทบุรี:
เดอะกราฟิโก ซิสเต็มส์.
พงษ์เอก สุขใส. (2561). ครูพลศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
(3). 8-21.
มลิวัลย์ ผิวคราม. (2551). การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถภาพทางวิชาชีพ สำหรับนักศึกษา.
สาขาวิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การกีฬา สถาบันการพลศึกษา: โมเดลจาก 3 มุมมอง.
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร.
วณิช นิรันตรานนท์ และศศิธร นิรันตรานนท์. (2553). ทิศทางการผลิตครูพลศึกษาในช่วง 15 ปี (พ.ศ.
-2565). วารสารวิชาการ สถาบันการพลศึกษา. 2(2). 79-89.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรีสฤษดิ์วงศ์.
วิจารณ์ พานิช. (2556). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: ฝ่ายโรงพิมพ์ บริษัท
ตถาตา พับลิเคชั่น.
เสาวลักษณ์ ประมาน ต่อศักดิ์ แก้วจรัสวิไล และธีรนันท์ ตันพานิชย์. (2565). สมรรถนะครูพลศึกษา.
วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ. 9(1). 153-164.
สมชนก ลดาดก. (2559).การพัฒนาโมเดลการวัดบทบาทครูเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21:การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัด. สืบค้นจากhttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/1234 56789/58438.
สุทธิวัฒน์ มากมี. (2561). อนาคตภาพการบริหารโรงเรียนประถมศึกษาในประเทศไทย. วารสารการ
บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร. 9 (1). 245-247.
อาทิตย์ โพธิ์ศรีทอง. (2562). อนาคตภาพของคุณลักษณะครูดนตรีในทศวรรษหน้า (พ.ศ.2561-2571).
วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. 14(1). 62-70
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th
ed.). Pearson: New York.
Konukman Ferman, Bülent Agbuğa, Şamil Erdoğan, Erdal Zorba , Giyasettin Demirhan , İlker
Yılmaz. (2010). Teacher-Coach Role Conflict in School-Based Physical Education in
USA: A Literature Review and Suggestions for the Future. Information Analyses; Journal Articles; Reports – Evaluative.2.(19).21-24.
Petrova, E., Jansone, D. & Silkane V. (2014). The development and assessment of
competencies in Vidzeme University of Applied Sciences. Procedia – Social and
Behavioral Sciences, 140, 241-245.
Rothwell, W.J., & Graber, J.M. (2010). Competency-based training basics. The United State
of America: Versa Press Inc.
Schumacker, R. E.,& Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation
modeling. (3rd Edition). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates
Smith, R. and Lynch, D. (2010). Rethinking Teacher Education: Teacher Education in a
Knowledge Age, AACLM Press: Sydney
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว