ข้อสังเกตต่อปรัชญาจวงจื่อ
อ่านจวงจื่อผ่านแว่นหลังสมัยใหม่
คำสำคัญ:
จวงจื่อ, เรื่องเล่า, หลังสมัยใหม่บทคัดย่อ
บทความนี้พยายามที่จะทำความเข้าใจโครงการทางปรัชญาของจวงจื่อโดยหยิบยืมเรื่องราวของความคิดสมัยใหม่และความคิดหลังสมัยใหม่ มาเป็นเครื่องมือหนึ่งในการทำความเข้าใจโดยเคารพในบริบทที่แตกต่าง โดยบทความนี้จะพยายามชี้ให้เห็นว่าปรัชญาจวงจื่อที่แสดงแนวคิดที่แหกคุณค่า กฎกรอบ ชีวิตในแบบแผน และจารีตทางโลก เพื่อค้นหาความจริงแท้ และปลดปล่อยตัวเองสู่อิสรภาพ ทั้งหมดคือการเผยให้เห็นปฏิบัติการของเรื่องเล่า โดยการชี้ให้เห็นถึงเรื่องเล่าบางเรื่องที่กุมอำนาจในการนิยามความจริง และเผยให้เห็นถึงเรื่องเล่าเรื่องอื่นที่ถูกกดทับ ในขณะเดียวกัน จวงจื่อก็พยายามเสนอปทัสฐานบางอย่างที่เป็นจุดยืนทางปรัชญาของตนด้วยเช่นกัน ซึ่งเป็นสิ่งที่แตกต่างจากหลังสมัยใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะความแตกต่างเชิงบริบทและโครงการของปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก
References
ไชยันต์ ไชยพร. (2550). ชะตากรรมโพสต์โมเดิร์นในอุ้งมือนักปรัชญาการเมือง โบราณ. กรุงเทพฯ: โอเพ่นบุ๊ค.
Charoensin-o-ran, Chairat (2011) nænam sakun khwāmkhit lang khrōngsāng niyom [Introduction to poststructuralism]. Bangkok: Sommadhi.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2554). แนะนำสกุลความคิดหลังโครงสร้างนิยม. กรุงเทพฯ: สมมติ.
Lyotard, Jean-François (1984). The Post Modern Condition: A Report on Knowl- edge. Minneapolis: University of Minnesota Press.
Prachakul, Nopporn and Pattarakulwanich, Chusak (2009) “mō̜ng lāk mum phōmōdoēn” [The Others views of Postmodern] in yō̜k ʻaksō̜n yō̜n khwāmkhit. Bangkok: Read and Vibhasa.
นพพร ประชากุล และ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ (2552) “มองหลากมุม “โพสต์ โมเดิร์น”. ใน ยอกอักษรย้อนความคิด. กรุงเทพฯ: อ่านและ วิภาษา.
Preechatham, Surat (2011) Zhuang Zhi. Bangkok: Openbook.
สุรัติ ปรีชาธรรม (2554) จวงจื่อ. กรุงเทพฯ: โอเพ่นบุ๊ค.
Satha-a-nant, Suwanna (2013). krasǣ thān pratyā Čhīn [History of Chinese Phi- losophy]. Bangkok: Siam.
สุวรรณา สถาอานันท์ (2556) กระแสธารปรัชญาจีน. กรุงเทพฯ: ศยาม
Tlumak, Jeffrey (2007). Classical Modern Philosophy a contemporary introduction. New York : Routledge Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th