วิธีการสร้างศาสนทายาทของพระสายปฏิบัติในจังหวัดสกลนคร

ผู้แต่ง

  • พระไพศาล พหุสฺสุโต Chiang Mai University

คำสำคัญ:

ศาสนทายาท, พระป่า, จังหวัดสกลนคร

บทคัดย่อ

วิธีการสร้างศาสนทายาทของพระสายปฏิบัติในจังหวัดสกลนคร มี  2 ขั้นตอนคือ  (1) ผู้ขออุปสมบทต้องเข้ารับการฝึกฝนเป็นผ้าขาวก่อนอุปสมบทจริง  (2) การตรวจสอบ  คัดกรอง พระที่อุปสมบทจากสำนักอื่น  ก่อนรับเข้าพำนักในวัด

         วิธีการสร้างศาสนทายาทที่เป็นอัตลักษณ์ของจังหวัดสกลนครคือ  อบรมข้อวัตร  แต่ละสำนักจะมีขึ้นตอนการอบรมและฝึกปฏิบัติ  ขั้นตอนดังกล่าวคือ  การอบรมลูกศิษย์  แนะนำการเจริญจิตภาวนา  สอนวิปัสสนากรรมฐาน  นั่นเป็นภารกิจที่ครูบาอาจารย์ต้องให้การอบรมแนะนำดูแลให้คำปรึกษาลุกศิษย์อย่างใกล้ชิด  การเข้ามาบวชตั้งแต่เป็นผ้าขาวเพื่อทดลองฝึกการปฏิบัติก่อนการบวชเพื่อเป็นพระภิกษุ  ตลอดถึงศึกษาข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ  เพื่อเป็นการฝึกหัดความอดทน ด้วยวิธีเหล่านี้จึงทำให้พระสายปฏิบัติในจังหวัดสกลนครมีศาสนทายาทที่ดีสืบทอด และมีคุณภาพสามารถพร้อมเป็นผู้นำเป็นครูเป็นอาจารย์สั่งสอนลูกศิษย์รุ่นหลังอย่างต่อเนื่องตลอดมา

References

กระทรวงวัฒนธรรม.กรมการศาสนา. (2554). ความรู้ศาสนาเบื้องตน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
_______. (2525) . พิธีกรรมและประเพณี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
คณะศิษยานุศิษย์. (2554). บูรพาจารย์. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต.
จรเดช อรชุน. (2547). เจตคติการบรรพชาอุปสมบทตามประเพณีไทยในพระพุทธศาสนาของนักเรียน นักศึกษาวัยรุ่นในเขตเทศบาลนครอุดรธานี. วิทยานิพนธ์จิตวิทยาศึกษา ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธรรมานุสรณ์พระครูบริบาลสังฆกิจ. (2555). โรงพิมพ์รุ่งศิริการพิมพ์ : สกลนคร.
บูรพาจริยานุสรณ์. (2556). โรงพิมพ์สกลนครการพิมพ์ : สกลนคร.
ปฐม - ภัทรา นิคมานนท์. (2547). พระกรรมฐานสู่ล้านนา (ตอนที่ 1) ที่ระลึกงานสมโภชพระมหาธาตุมณฑปบูรพาจารย์ พฤศจิกายน 2546.โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 6. กรุงเทพฯ : พี.เอ. ลิฟวิ่ง จำกัด.
_______. (2550). พระญาณสิทธาจารย์ หลวงปู่สิม พุทฺธาจาโร วัดถ้ำผาปล่อง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม12. กรุงเทพฯ :
พี.เอ. ลิฟวิ่ง จำกัด.
_______. (2549). หลวงปู่ฝั้น อาจาโร วัดป่าอุดมสมพร อำเภอพรรณนานิคม จังหวัดสกลนคร โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม11. กรุงเทพฯ : พี.เอ. ลิฟวิ่ง จำกัด.
_______. (2552). หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ประวัติ ข้อวัตร และปฏิปทา โครงการหนังสือบูรพาจารย์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ : พี.เอ. ลิฟวิ่ง จำกัด.
พระไตรปิฎก. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระดวงจันทร์ อานัน. (2551). รูปแบบและวิธีการสร้างศาสนทายาทของคณะสงฆ์ อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระทะนง ธมฺมิโก(ปานทอง). (2553). ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการบวชในสังคมไทยปัจจุบันพุทธ.
วิทยานิพนธ์ศาสนตรมหาบัณฑิต(พุทธศาสนา). มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). พระพุทธศาสนากับสังคมไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง.
_______. (2530). สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : ห้างหุ่นส่วนสามัญนิติบุคลสหประชาพาณิชย์.
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). ( 2537). คำสอนผู้บวช ภาค 1. กรุงเทพฯ : สมชายการพิมพ์.
พระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2538). คนไทยหลงหรือย่างไร.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สหธรรมมิก จำกัด.
_______. (2545). ภัยแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพุทธธรรม.
พระธรรมวิสุทธิมงคล.(2554).ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่าชาติสุดท้าย. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : บริษัท ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหานรินทร์ สุธรรม. (2545). สมณเพศกับเป้าหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาเถรวาท.
วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระมหาบัว ญาณสมฺปนฺโน. (2532). ปฏิปทาพระธุดงคกัมมัฏฐาน สายท่านพระอาจารย์มั่น
ภูริทตฺโต. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
_______. (2549). ประวัติท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต. กรุงเทพฯ : ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ จำกัด.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2529).การศึกษาของคณะสงฆ์ : ปัญหาที่รอทางออก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ มูลนิธิโกมลคีมทอง.
พระอาจารย์วิริยังค์ สิรินฺธโร. (2548). ท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต ชีวประวัติ พระธรรม เทศนา มุตโตทัย บทประพันธ์ และธรรมบรรยาย.กรุงเทพฯ : ป.สัมพันธ์พาณิชย์.
พูนพิสมัย ดิสกุล, ม.จ. (2504) พิธีของทุกคน. กรุงเทพฯ : เขษมบรรณกิจ.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์.
วิโรจน์ พรหมสุด. (2547). การบวช : กระบวนการขัดเกลาเพื่อความเป็นศาสนทายาทคุณภาพ. วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมนุษยวิทยมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วีระศักดิ์ จันทร์ส่งแสง. (2553). พระอาจารย์มั่น ภูริทตฺโต พระอริยสงฆ์แห่งยุคสมัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สารคดี.
สมคิด เพ็งอุดม. (2535). บทบาทของพระสงฆ์ที่มีต่อการพัฒนาชุมชนตามทรรศนะของพระสงฆ์ เจ้าหน้าที่กระทรวงหลักระดับตำบลในจังหวัดสมุทรสงคราม.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). (2542). พระพุทธศาสนากับการบวชเรียน. กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมพร เทพสิทธา. (2538). บทบาทของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติในพระบรมชูปถัมภ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สำนักสงฆ์ถ้ำผาปล่อง. (2555). พุทธาจารบูชา. กรุงเทพฯ : หอรัตนชัยการพิมพ์.
สุนทร บุญสถิต. (2543). สถานภาพ บทบาท และปัญหาของสามเณรในสังคมไทย. วิทยานิพนธ์
อักษรศาสตรมหาบันฑิต สาขาศาสนาเปรียบเทียบ. มหาวิทยาลัยมหิดล.
แสง จันทร์งาม. (2523). พุทธศาสนาในลานนาไทย. กระประชุมใหญ่สมัยที่ 13 องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก 24 – 29 พฤศจิกายน 2523 เชียงใหม่.
หนังสือภาพชีวประวัติและปฏิปทาพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร. ( 2521). กรุงเทพฯ : หจก.การพิมพ์พระนคร.
อำนวย วีรวรรณ. (2555). พระมหากษัตริย์ไทยกับพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : สายธุรกิจโรงพิมพ์ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

29-09-2018