สัทธรรมอันตรธาน

ตรรกวิภาษแนวพุทธ

ผู้แต่ง

  • ผศ.ดร.แสวง แสนบุตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

สัทธรรมอันตรธานปัญหา, ตรรกศาสตร์, ตรรกศาสตร์แนวพุทธ

บทคัดย่อ

สัทธรรมอันตรธานปัญหาเป็นปัญหาลำดับที่ 7 ในปฐมวรรค แห่งเมณฑกปัญหา เป็นบทเสวนาไม่ค่อยยาวมากนัก เนื้อหากล่าวถึงการถามตอบเรื่องอายุพระพุทธศาสนา 5,000 ปี ของพระเจ้ามิลินท์กับพระนาคเสนเถระ ธรรมชาติของเมณฑกปัญหาเป็นปัญหาสองเงื่อน (อุภโตโกฏิ) ประเภทหากฝ่ายหนึ่งถูกอีกฝ่ายต้องผิด หรืออาจถูกพร้อมกันหรือผิดด้วยกันทั้งคู่  ดังนั้นกระบวนการปุจฉา-วิสัชชนา ปัญหาลักษณะนี้จึงจัดเป็นตรรกวิภาษรูปแบบหนึ่ง ที่แสดงการโต้ตอบด้วยสติปัญญาระดับสูง ชี้ให้เห็นไหวพริบ ความเฉลียวฉลาด บนฐานความรู้ที่ลุ่มลึกในอรรถธรรมคำสอนพุทธศาสนาของทั้งผู้ถามและผู้ตอบ

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎกภาษาไทย พระสูตรและอรรถกา แปล. ชุด 91
เล่ม. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. ๒๕๒๕. พิมพ์
เนื่องในวโรกาสครบ 200๒ ปีแห่งพระราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์.
ข้อมูลทุติยภูมิ
กรมศิลปากร. (2583). ปัญหาพระยามิลินท์ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ (เล่มเดียวจบ). พระนคร : โรง
พิมพ์เจริญธรรม.
กีรติ บุญเจือ. (2540). ตรรกวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 15, กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
จินดา จันทร์แก้ว. (2532). พุทธวิภาษวิธี. โครงการวิจัยพุทธวิทยา ชุดที่ 1, โครงการวิจัยพุทธ
วิทยา : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
เจษฎา ทองรุ่งโรจน์. (2543). พจนานุกรมปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : โบแดง.
ปิ่น มุทุกันต์. (2527). ประมวลศัพท์ศาสนา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คลังวิทยา.
ปุ้ย แสงฉาย. (2538). มิลินทปัญหา ฉบับพร้อมด้วยอรรถกถา ฎีกา. พระนคร : โรงพิมพ์ ลูก ส.
ธรรมภักดี.
พระมหาดาวสยาม วชิรปัญโญ. (2549). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในอินเดีย. กรุงเทพฯ :
บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.
พระมหาวิสิษฐ์ ปญฺญาวฑฺฒโน. (2545). การศึกษาเชียงวิเคราะห์เรื่องอุปมากถาในมิลินทปัญหา.
วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาบุญไทย ด้วงวงศ์. (2540). การใช้เหตุผลทางตรรกะในพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ศิลป
ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้ง
ที่ 6, กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพุทธพุกาม และพระพุทธญาณ. (2513). ตำนานมูลศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 2 (อนุสรณ์ในงาน
ทำบุญครบร้อยวันศพ นายหน่อ ชุติมา), เชียงใหม่ : นครพิงค์การพิมพ์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 5,
กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิต.
ราชบัญฑิตยสถาน. (2532). พจนานุกรมศัพท์ปรัชญา อังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ : บริษัท อมรินทร์
พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด.
สมภาร พรมทา. (2548). พุทธปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : ศยาม.
สมหวัง แก้วสุฟอง. (ม.ป.พ.). ตรรกศาสตร์. ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (๒๕๓๒). พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน. พิมพ์ครั้งที่ 11 ,
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักพิมพ์มติชน. (2547). พจนานุกรมฉบับมติชน. กรุงเทพฯ : บริษัท พิฆเณศ พริ้นท์ติ้ง เซ็น
เตอร์ จำกัด.
Buddhadatta Mahathera, A.P. (1989). Concise Pali-English Dictionary. Delhi India :
Motilal Banarsidass Publishers.
Copi, M. Irving and Cohen, Carl. (1996). Introduction to Logic. Ninth Edition, New
Delhi India : Prentice Hall of India.
Srinivas, K. (1993). A Dictionary of Philosophy. New Delhi India : Ashish Publishing
House.
Trenckner (Edit.), V. (1962). The Milindapañho. London : Luzac & Company LTD.
Bhikkhu Pesala (Edit.). (2001). The Debate of King Milinda. Penang Malaysia :
Inward Path.
ฐานข้อมูลออนไลน์
คณะกรรมการกฤษฎีกา, สำนักงาน. มิลินทปัญหา. ฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์พระราชทานในงานพระศพ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาน สมเด็จ
พระสังฆราช (จวน อุฏฐายี) วันที่ 17 มิถุนายน พุทธศักราช 2515 (ข้อมูลออนไลน์) จาก
http://www.krisdika.go.th/data/serve/serve๕_pdf/milinall.PDF, วันที่สืบค้น 11
กันยายน 2542.
หอมรดกไทย. “คำขออุปสมบท”. (ข้อมูลออนไลน์)http://www.heritage.thaigov.net/ religion/ relceremony/relcer๗.htm, วันที่สืบค้น 14 กันยายน 2552.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

12-10-2018