ส้วม

กำเนิดส้วมและข้อปฏิบัติในการใช้ส้วมจากพระไตรปิฎก

ผู้แต่ง

  • Rattana Panyapa

คำสำคัญ:

ส้วม, ข้อปฏิบัติในการใช้ส้วม, พระไตรปิฎก

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับส้วมตามที่ปรากฏในพระวินัยปิฎก ซึ่งประกอบด้วย 2 ประเด็นหลัก ๆ คือ 1) ความเป็นมาของวัจกุฎี หรือ ส้วมในยุคพุทธกาล ตั้งแต่พระสงฆ์ขับถ่ายไม่จำกัดพื้นที่ จนกระทั่งพระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ขับถ่ายในบริเวณที่กำหนดไว้ในวัด และพัฒนาการมาตามลำดับจนเป็นส้วมที่เป็นอาคารมีองค์ประกอบต่าง ๆ ครบครัน เช่น รั้ว บันใด ซุ้มประตู  และ 2) วัจกุฎีวัตร กล่าวคือ ข้อปฏิบัติในการใช้ส้วม ซึ่งมีรายละเอียดและขั้นตอนที่เป็นแบบแผน สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้แม้ในยุคปัจจุบัน เนื้อหาในประเด็นที่ 2 ประกอบด้วย การทำความสะอาดทวารหนักหลังการขับถ่ายอุจจาระ ระบบการเข้าคิวเพื่อใช้ส้วม มารยาทในการใช้ส้วมทั้งก่อนขับถ่าย ขณะขับถ่าย หลังการขับถ่าย และข้อปฏิบัติเพื่อสุขอนามัยของผู้ใช้ส้วม

Author Biography

Rattana Panyapa

ผศ.ดร.รัตนะ ปัญญาภา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
เปรียญธรรม ๙ ประโยค (ป.ธ.๙)

อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (จริยศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล)

พุทศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 

References

กิจจา จิตรภิรมย์. (2557). อันตรายต่อสุขภาพในส้วมสาธารณะ. ก้าวโลกวิทยาศาสตร์. 14 (2). 23-38.
จุฑารัตน์ ผู้พิทักษ์กุล. (2559). การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 (Adult Nursing 1). นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
ปัญฑารีย์ ดำรงสุทธิพงศ์. (2554). ระวัง การอั้นปัสสาวะ และ อุจจาระ นานๆ มีผลเสียมากกว่าที่คิด!. ค้นเมื่อ 16 กันยายน, 2555 จาก http://dharma.thaiware.com/article_detail.php?article_id=165.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2535). พระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ, 2500. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
________. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
อุดร จารุรัตน์. (2556). ส้วม : อึง่าย ๆ ถึงระดับไฮเทค. ต่วย’ตูน พิเศษ, มีนาคม 2556.
Jeffreys, S. (2014). The politics of the toilet: A feminist response to the campaign to ‘degender’ a women’s space. Women’s Studies International Forum. 45,42-51.
Siddiqul, A. (2015). Toilet Revolution: Solving India’s sanitation problem. The Business of Bioscience : Bio-Spectrum.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

23-10-2018