แนวคิดเรื่องความเชื่อมโยงที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ของเดวิด ฮิวม์

คำจำกัดความของสาเหตุสองประเภท

ผู้แต่ง

  • Piyaboot Sumettikoon Chiang Mai University

คำสำคัญ:

เดวิด ฮิวม์, ความสัมพันธ์เชื่อมโยง, ทวินิยามของสาเหตุ, ทฤษฎีความรู้

บทคัดย่อ

บทความนี้มุ่งศึกษามโนทัศน์เรื่องเหตุและผลในบริบทของที่มาของความรู้ตามทรรศนะของเดวิด ฮิวม์ จากแนวคิดที่ว่า ทุกมโนทัศน์นั้นเป็นสำเนาจากสาเหตุ หากเป็นเช่นนั้น การรับรู้ของมนุษย์ก็ขึ้นอยู่กับความ เคยชินเพียงเท่านั้นหรือ? บทความนี้มี 5 ประเด็นรวมบทนำ และบทสรุป โดยเริ่มจากบทปริทัศน์แนวคิดของ ฮิวม์ เรื่อง ความสัมพันธ์เชื่อมโยง และ ทวินิยามของสาเหตุ จากนั้นเป็นการวิเคราะห์เนื้อหา พร้อมสะท้อน แนวคิดเพื่อหาความเที่ยงแท้ในหลักปรัชญาของฮิวม์

References

Buckle, Stephen (eds.). (2007). An Enquiry Concerning Human Understanding. New York :
Cambridge University press.
Garrettt, Don. (1997). Cognition and Commitment in Hume's Philosophy. New York :
Oxford University Press.
Guttenplan, Samuel D. et al. (2003). Reading Philosophy: Selected Texts with Method for
beginners. Oxford : Blackwell.
Hume, David (1739). A treatise of Human nature. Ed. D. G. C. Magnabb. Glasgow :
William Collins Sons & Co. Ltd.
Norton, David F. (eds.) . (2009). The Cambridge Companion to Hume. New York :
Cambridge University press.
Robinson, J. A. . (1962 ). Hume’s Two Definitions of ‘Cause’. . The Philosophical
Quarterly .12 (47),162–71.
Russell, Paul (1984). Hume’s ‘Two Definitions’ of Cause and the Ontology of 'Double
Existence’. Hume Studies. 10, 1-25.
Strawson, Galen.(1989). The Secret Conexion . Oxford : Clarendon Press.
Wright, John P. . (2009). Hume’s a Treatise of Human Nature An Introduction . New York:
Cambridge University press.
Morris, William E., (2009). David Hume, [Online: web] acess 20 Nov. 2010, URL:
http://plato.stanford.edu/entries/hume/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-10-2018