การดำรงอยู่ของระบบวรรณะในสังคมอินเดีย
คำสำคัญ:
การดำรงอยู่, ระบบวรรณะ, สังคมอินเดีย, ดาลิตบทคัดย่อ
บทความนี้ เกิดจากการศึกษาสืบค้นใน 3 ประเด็น คือ (1) เพื่อศึกษาสภาพของสังคมอินเดียตามระบบวรรณะ (2) เพื่อศึกษาแนวคิดโต้แย้งระบบวรรณะและผลที่เกิดขึ้นจากแนวคิดที่ต่อต้านระบบวรรณะ และ (3) เพื่อค้นหาปัจจัยแห่งการดำรงอยู่แห่งระบบวรรณะในสังคมอินเดียสมัยใหม่
ผลการศึกษาพบว่า สังคมอินเดียเป็นสังคมที่ประกอบด้วยระบบจตุรวรรณะหรือวรรณะทั้ง 4 คือ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร ซึ่งระบบดังกล่าวนี้สืบทอดกันมายาวนานนับตั้งแต่การเข้ามาของอารยัน คนที่อยู่นอกระบบวรรณะมีชื่อว่าจัณฑาล ต่อมา พระพุทธเจ้าได้โต้แย้งแนวคิดเรื่องวรรณะ ที่นับถือกันนั้นเป็นเท็จ และในช่วงอินเดียสมัยใหม่ มีการชูประเด็นการหักล้างความคิดเห็นเกี่ยวกับวรรณะที่แตกต่างกันระหว่างคานธีและอัมเบดการ์
ในอินเดียสมัยใหม่ที่แม้ระบบวรรณะจะเปลี่ยนรูปแบบไปแต่การยึดถือก็ยังคงอยู่ ปัจจัยทั้งที่เป็นลบและเป็นบวก ที่เป็นลบก็คือ การศึกษา อิทธิพลวัฒนธรรมสากล ที่เป็นบวกก็มี การปฏิบัติสัมสการและปัจจัยทางการเมือง แต่ทั้งบวกและลบก็ยังไม่มีพลังมากพอ เป็นเหตุให้แนวคิดเรื่องวรรณะยังคงเป็นพลวัตและดำเนินไปในสังคมอินเดียอย่างต่อเนื่อง
References
ความเหลื่อมล้ำ. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
นารายัน เดซาย เขียน, อนิตรา พวงสุวรรณ โมเซอร์ แปล (2557) . คานธีรำลึก: มหาบุรุษอหิงสา.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (2539) พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ราชโมฮาน คานธี เขียน, ทวีศักดิ์ เผือกสมและ ชนิดา พรหมพยัคฆ์ เผือกสม แปล (2551) . ล้างแค้นกับ
สมานฉันท์: สู่ความเข้าใจประวัติศาสตร์เอเชียใต้, กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
Agarwala, S.B.D. (1988). The Great Indians, New Delhi: New Age International Limited,
Publishers .
Ambedkar, B.R.. (1945).What Congress and Gandhi Have Done to the Untouchables,
Bombay: Thacker & Co., LTD.
Bayly, Susan, (2008).The New Cambridge History of India Iv.3: Caste, Society and Politics in
India from the Eighteenth Century to the Modern Age, Cambridge : Cambridge
University Press.
Coward, Harold (ed.) (2003) . Indian Critiques of Gandhi, New York: State University of New
York Press.
Dumont, Louis, (1980) Homo Hieraechicus : The Caste System and Its Implications. Chicago:
The University of Chicago Press.
Gandhi, M.K. ( 2002) . In Search of the Supreme Vol. III, Ahmedabad: Navajivan Publishing
House.
Government of India . ( 2007) . The Constitution of India, New Delhi : Government of India.
Harris, Ian (ed.). (1999) . Buddhism and Politics in Twentieth-Century Asia, London: Pinter.
Herman, L.A. (1991). A Brief Introduction to Hinduism, Boulder, Colorado: Westview Press.
Human Rights Watch. (1999) . Broken People: Caste Violence Against India’s “Untouchable”,
Bangalore: Book for Change.
. Ketkar, S.V. (1998) History of Caste in India. Delhi : Low Price Publication
Michael, S. M. (ed.) . ( 2007) . Dalits in Modern India: Vision and Values, New Delhi: Sage
Publications,
Misra, Maria (2007) Visnu’s Crowded Temple : India since Great Rebellion, New Haven : Yale University Press.
The Rig Veda. (1994) Delhi : Penguin Books India.
Santina, Peter Della, (2012) The Tree of Enlightenment, Chiang Mai: Max Printing.
Williams, Monier. (2001) Indian Wisdom or Examples of the Religious, Philosophical and
Ethical Doctrines of the Hindus. Delhi : Rupa. Co.,
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th