ความเป็นธรรมในทัศนะของพุทธศาสนาเถรวาท
คำสำคัญ:
ความเป็นธรรม, พุทธศาสนาเถรวาทบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ศึกษาแนวความคิดเรื่อง “ความเป็นธรรม” และ “ความเป็นธรรมทางสังคม” ของพุทธศาสนาเถรวาท จากพระไตรปิฎกภาษาบาลี และเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยมีประเด็นหลักสองประการ คือ เพื่อตอบคำถามว่า 1) แนวความคิดเรื่อง “ความยุติธรรมทางศีลธรรม” ตามกฎแห่งกรรม สามารถใช้เป็นหลักการพื้นฐานเพื่ออธิบายเรื่อง “ความเป็นธรรมทางสังคม”ได้หรือไม่ เพราะอะไร 2) “ความเป็นธรรม” ที่สามารถใช้อธิบายหรือประเมินค่าความสัมพันธ์ทางสังคมของมนุษย์อย่างมีเหตุผลนั้นวางอยู่บนหลักการใด จากการศึกษาพบว่า พุทธศาสนายอมรับความเป็นธรรมสองนัย คือ 1) ความเป็นธรรมระดับสากล 2) ความเป็นธรรมทางสังคม นัยแรกอิงหลักคำสอนเรื่องกรรม ที่เชื่อว่ามีกฎศีลธรรมควบคุมอำนวยผลตอบแทนอย่างสอดคล้องเหมาะสมกับการกระทำนั้นๆ กฎนี้ทำงานอย่างเป็นกลไก เป็นเหตุผล อยู่เหนือความเข้าใจของมนุษย์ แต่เนื่องจากเป็นมโนทัศน์เชิงบรรยาย ที่มีความซับซ้อนในเชิงทฤษฎี จึงนำไปอธิบายหรือประเมินค่าความสัมพันธ์ทางสังคมได้ยาก นัยที่สองอิงหลักคำสอนทางสังคมการเมืองซึ่งให้ความสำคัญต่อสถานการณ์ในชีวิตปัจจุบัน โดยถือว่า มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันระหว่างปัจเจกบุคคลกับสังคม พลเมืองกับโครงสร้างอำนาจรัฐ และด้วยแนวคิดที่ว่า “มนุษย์ทุกคนต้องการชีวิตที่ดีงาม และชีวิตที่ดีเกิดขึ้นได้ภายในสังคมที่เป็นธรรม” พุทธศาสนาจึงถือว่า ลักษณะพื้นฐานของความเป็นมนุษย์เป็นเกณฑ์สำคัญในการพิจารณาเพื่อจัดวางระบบตอบแทนความดี (การจัดสรรผลประโยชน์ทางสังคม) หรือความชั่ว (การลงโทษผู้กระทำผิด) ผู้วิจัยจึงเสนอว่า ความเป็นธรรมที่อิงอยู่กับบริบททางสังคมการเมือง น่าจะเป็นปรับใช้กับสังคมทั่วไปได้ดีกว่าความเป็นธรรมที่อิงอยู่กับมโนทัศน์เรื่องกฎแห่งกรรม
References
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (2514). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับสยาม รัฐ เล่ม 1–45. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
Mahāmakutrātchawitthayālai nai phra bō̜rom rāchūpatham. (1998). Phra traipidok læ ʻatthakathā plǣ lem 1- 91 [Tipitaka and Commentaries translated into Thai Vol.1-91]. Bangkok: Mahāmakutrātchawitthayālai Press.
มหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2541). พระไตรปิฎกและอรรถ- กถา แปล เล่ม 1–91. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.
Samnak khō̜mphiutœ̄ mahāwitthayālai Mahidon. (1994). Phra traipidok ʻatthakathādīkā chabap khō̜mphiutœ̄ chut plǣ pen phāsā Thai Version iii. [E-Tipitaka and Commentaries Thai Version 3]
สำนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2537). พระไตรปิฎก อรรถกถา-ฎีกา ฉบับคอมพิวเตอร์ ชุดแปลเป็นภาษาไทย เวอร์ชัน 3.
Boonnoon, Channarong. (2010). ‘khwām pen tham thāng sangkhom nai thatsana khō̜ng phra phut sātsanā [Social Justice in Buddhism]’ Journal of Buddhist Studies, Chulalongkorn University 17, 2 (May - August): 36- 93.
ชาญณรงค์ บุญหนุน. (2553). “ความเป็นธรรมทางสังคมในทัศนะของพระพุทธ- ศาสนา.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 17, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2553): 36-93.
Chāng khwanyư̄an, Prīchā. (1991). khwāmkhit thāngkān mư̄ang nai phra traipidok. [Political Thought in Tipitaka.] Bangkok: Chulalongkorn University Press.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2534). ความคิดทางการเมืองในพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chāng khwanyư̄an, Prīchā. (1999). tham ratthammarāchā . [State and the king of Dhamma]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2542). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Chankǣo, Chindā. (1994). “Patitcha samupa bāt nai thāna rākthān khō̜ng phut aphipratyā [Interdependent Arising as Foundation of Buddhist Metaphysic.]” Journal of Buddhist Studies, Chulalongkorn University 1,1 (January- April): 65-72. จินดา จันทร์แก้ว, (2537). “ปฏิจจสมุปบาทในฐานะรากฐานของพุทธอภิปรัชญา”. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1, 1 (มก- ราคม-เมษายน): 65–72.
Inthapanyō, Buddhadasa. (1995). Thammik sangkhomniyom. [Dhammika Socia- lism]. Bangkok: Sayām prathēt Press. พุทธทาส อินทปัญโญ. (2538). ธัมมิกสังคมนิยม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สยาม ประเทศ.
Jayatinlēkē, K. N.,(1994). chariyasāt nǣo phut. [Buddhist Ethics]. Su chao Phlō̜i chum, trans. Bangkok: Mahāmakutrātchawitthayālai Press.
ชยติลเลเก, เค. เอ็น., (ผู้เขียน). (2537). จริยศาสตร์แนวพุทธ. สุเชาว์ พลอยชุม แปล. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.
kasēm sap, Prīdī. (2005). Niti pratyā [Legal Philosophy]. Bangkok: Faculty of Law, Thammasāt University.
ปรีดี เกษมทรัพย์. (2548). นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Khōsā nānan, Charan (2004). Niti Pratyā. [Philosophy of Low]. Bangkok: Ram- khamheang University Press.
จรัญ โฆษานานันท์. (2547). นิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Nakhapariya. (2005). kam læ kān kœ̄t mai nai sangkhom rūamsamai. [Kamma and Rebirth in Contemporary society]. Chindā Chai udom trans. Bangkok: Sūan ngœ̄n mī mā Press.
นคปริย (2548). กรรมและการเกิดใหม่ในสังคมร่วมสมัย. จินดา ไชยอุดม แปล. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สวนเงินมีมา.
Na rangsī, Sunthō̜n. (2000). Phut pratyā čhāk phra traipidok [Buddhist Philosophy from Tipitaka]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
สุนทร ณ รังสี. (2543). พุทธปรัชญาจากพระไตรปิฎก. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Phatthasēn, Aphichai. (2001). Phut sētthasāt [Buddhist Economics]. Bangkok: Amarin Press.
อภิชัย พัทธเสน. (2544). พุทธเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์.
Phra Thampidok (Pō̜.ʻŌ̜. Payuttō). (1995A). Phut tham [Dharma of The Buddha]. Bangkok.: Mahā čhulā long korn rāt witthayālai Press.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2538ก). พุทธธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลกรณ- ราชวิทยาลัย.
Phra Thampidok (Pō̜.ʻŌ̜. payuttō). (1995B). Winai rư̄ang yai kwā thī khit [The Essence of Buddhist Discipline]. Bangkok.: Buddha-dhamma foundation.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต). (2538ข). วินัยเรื่องใหญ่กว่าที่คิด. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
Phra Thampidok (Pō̜.ʻŌ̜. Payuttō). (1998). Nitisāt nǣo phut sāt [Buddhist Philo- sophy of Law]. Bangkok: Buddha-Dhamma foundation.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2541). นิติศาสตร์แนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
Phra Rāt wō̜ra munī (Prayut Payuttō). (1985). Rākthān phut čhariyasāt thāng sangkhom phư̄a sangkhom Thai rūamsamai [Foundation of Buddhist Ethics for Contemporary Thai Society]. Bangkok: Thīan wan Press.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2528). รากฐานพุทธจริยศาสตร์ทางสังคม เพื่อสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เทียนวรรณ.
Phromthā, Somphān. (2000). Phutpratyā [Buddhist Philosophy]. Bangkok: Chu- lalongkorn University Press.
สมภาร พรมทา. (2543). พุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Phromthā, Somphān. (2005). “ngānwičhai rư̄ang phut sātsanā kap thōt prahān chīwit [Research: Buddhism and Capital Punishment]”. Journal of Buddhist Studies Chulalongkorn University 12, 3 (Sep- tember - December): 5- 116.
สมภาร พรมทา. (2548). “งานวิจัยเรื่อง ‘พุทธศาสนากับโทษประหารชีวิต’.” วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 12, 3 (กันยายน-ธันวาคม): 5-116.
Sombūn, Veera. (1989). Rat tham nai ʻadīt [Dhama-State in the Ancient time]. Bangkok: Kōmon khīm thō̜ng Press.
วีระ สมบูรณ์. (2532). รัฐธรรมในอดีต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง.
Sombūn, Veera. (2002). ariya winai samrap Khritsatawat thī yi sib et [The Noble Discipline in 21th century]. Bangkok: Kōmon khīm thō̜ng Foundation.
วีระ สมบูรณ์. (2545). อริยวินัยสำหรับคริสต์ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิ โกมลคีมทอง.
Phrom thā, Somphān. (1995). Pratyā sangkhom læ kānmư̄ang [Social and Politi- cal Philosophy]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
สมภาร พรมทา. (2538). ปรัชญาสังคมและการเมือง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Punyānuphāp, Suchīp. (1996). phra traipidok chabap samrap prachāchon [Tipi- taka for People]. Bangkok: Mahā makutrāt witthayālai Press.
สุชีพ ปุญญานุภาพ. (2539). พระไตรปิฎกฉบับสำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
Satha-Anand, Suwanna.(2002). satthā kap panyā [Faith and Reason]. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
สุวรรณา สถาอานันท์. (2545). ศรัทธากับปัญญา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
Angeles, Peter A. (1983). Dictionary of Philosophy. New York: Harper and Row, Publishers,Inc.
Blackburn, Simon. (1994). The Oxford Dictionary of Philosophy. New York: Ox- ford University Press.
Campbell, Tom. (2001). Justice. New York: St. Martin’ Press.
Cho, Sungtaek. 2000. “Selflessness: Toward a Buddhist Vision of Social Justice.” Journal of Buddhist Ethics 7: 76-85.
Fenn, Mavis. (1996). “Two Notions of Poverty in the Pali Canon.” Journal of Buddhist Ethics 3: 98-125. Garvey, Stephen P. (2003). “Restorative Justice, Punishment and Atonement.” Uta Law Review 1: 203-317.
Havey, Peter. (2000). An Introduction to Buddhist Ethics. U.K.: Cambridge Uni- versity Press.
Harveys, Peter. (1990). An Introduction to Buddhism. U.K.: Cambridge Universi- ty Press.
Hallisey, Charles. (1996). “Ethical Particularism in Theravada Buddhism.” Journal of Buddhist Ethics 3: 32-43.
Kalupahana, David J. (1995). Ethics in Early Buddhism. Honolulu: University of Hawaii Press.
Kaufman, Whitley R.P. (2005). “Karma, Rebirth, and The Problem of Evil.” Phi- losophy East and West 55 (January): 15-32.
Keown, Damien. (1996). “Karma, Character, and Consequentialism” Journal of Religious Ethics 24: 329-350.
Loy, David R. (2000). “How to Reform a Serial Killer: The Buddhist Approach to Restorative Justice.” Journal of Buddhist Ethics 7: 145-168.
Payutto, P.A. (1999). Good, Evil and Beyond. Bangkok: Buddhadhama Foundation.
Reichenbach, Bruce R. (1990). The Law of Karma: A Philosophical Studies. Honolulu: University of Hawaii Press.
Ryan, Alan,ed. (1995). Justice. New York: Oxford University Press.
Satha-Anand, Suwanna. (2002). “Karma as Moral Justice in Thai Buddhism.” Manusaya Special Issue 4: 72-83.
Wright, S. Dale. (1994). “Critical Questions Toward a Naturalized Concept of Karma in Buddhism.” Journal of Buddhist Ethics 2: 78-93.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th