กระบวนการและทักษะการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา

ผู้แต่ง

  • Prateep Peuchthonglang 0858661441
  • พระบุญทรง ปุญฺญธโร
  • อาภากร ปัญโญ

คำสำคัญ:

กระบวนการปรึกษา, ทักษะการปรึกษา, พุทธจิตวิทยา

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการและทักษะการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงเอกสาร แล้วนำผลการศึกษามาบูรณาการระหว่างพุทธวิธีการสอนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) สร้างศรัทธา 2) สนทนาเปิดใจ 3) เสริมธรรมเสริมปัญญา 4) แสวงหาสันติ และทักษะการปรึกษาเชิงพุทธจิตวิทยา 15 ทักษะ ได้แก่ 1) การสอบถาม สอบค้น 2) การสนทนา 3) การฟังอย่างลึกซึ้ง 4) การวิเคราะห์เรื่องราว 5) การควบคุมอารมณ์ 6) การเชื่อมสมาน 7) การนำเสนอทางเลือก 8) การกระตุ้นด้วยคำพูด 9) การยกประเด็นสำคัญ 10) การถามปริศนาธรรม 11) การใช้คำในความหมายใหม่ 12) การใช้อุปมาอุปไมย 13) การยกนิทานและอุทาหรณ์ประกอบ 14) การใช้สื่อ 15) การชมเชยและตำหนิ

Author Biography

Prateep Peuchthonglang, 0858661441

พธ.ด. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

ศษ.ม. สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว

พธ.บ. จิตวิทยา

References

ธีรวรรณ ธีรพงษ์. (2549). “ผลของกลุ่มพัฒนาตนและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธที่เน้นศีลและปัญญา
ต่อสัมพันธภาพการปรึกษาเชิงจิตวิทยาและผลต่อเนื่องของความพึงพอใจของผู้รับบริการ”,
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต. คณะจิตวิทยา: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประทีป พืชทองหลาง. (2556). รูปแบบการปรึกษาเชิงพุทธตามหลักกัลยาณมิตร. วิทยานิพนธ์
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประทีป พืชทองหลาง และญาตาวีมินทร์ พืชทองหลาง. (2560). “รูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาพฤติกรรมบริโภคด้วยสติปัญญาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับวัยรุ่น”
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์. 4(2), 17-37.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2542). พุทธวิธีในการสอน. กรุงเทพฯ: เบิกม่าน.
_______. (2543). พุทธศาสน์กับการแนะแนว. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: กองทุนวุฒิธรรมเพื่อการศึกษาและปฏิบัติธรรม.
_______. (2541). ธรรมนูญชีวิต. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
_______. (2542). ธรรมนูญชีวิต (ฉบับชาวบ้าน). กรุงเทพมหานคร: บริษัทสหธรรมิก จำกัด.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มั่นเกียรติ โกศลนิรัติวงษ์. (2541). พุทธธรรม: ทฤษฎีและเทคนิคการให้คำปรึกษา. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
สุมน อมรวิวัฒน์. (2542). การพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์: ทักษะกระบวนการเผชิญสถานการณ์.
นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
แสง จันทร์งาม. (2540). วิธีสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ: มหามกุฎราชวิทยาลัย.
โสรีช์ โพธิแก้ว. (2540). การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ. คณะจิตวิทยา: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
______. (2540). แนวคิดจิตวิทยาการศึกษาและทัศนะจากประสบการณ์. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อาภา จันทรสกุล. (2545). ทฤษฎีและเทคนิคการปรึกษาในสถาบันการศึกษา. กรุงเทพมหานคร:
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
De Silva, Padmasiri. (2005). An Introduction to Buddhist Psychology. 4th ed. Basingstoke:
Palgrave Macmillan.
George and Cristrani. Counseling : Theory and Practice, 4th ed., Boston : Allyn and
Bacon, 1995.
Krumboltz. J.D.. (1970). Guidance and Counseling. New York: Holt, Reinhart, and Winston.
Patlerson, C.H.. (1966). Theories of Counseling and Psychotherapy. 2nd ed. New York :
Harper and Row Publishing.
Pepinsky, H.B and P. Pepinsky. (1954). Counseling: Theory and Practice. New york: Ronald
Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

13-11-2018