จริยศาสตร์ความรู้สึกของปีเตอร์ ซิงเกอร์ในพิธีกรรมสู่ขวัญควาย

ผู้แต่ง

  • Suttikan Sittikul Banaras Hindu University

คำสำคัญ:

ขนบประเพณีคนเมือง, ภาคเหนือประเทศไทย, พิธีกรรมสู่ขวัญควาย, จริยศาสตร์ความรู้สึกของปีเตอร์ ซิงเกอร์

บทคัดย่อ

คนเมืองคือกลุ่มคนท้องถิ่นซึ่งอาศัยโดยรวมอยู่ทางพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย พิธีกรรมสำคัญต่าง ๆ ทางวัฒนธรรมเชิงศาสนาอันได้ถูกประกอบขึ้นประจำทุกปีโดยพวกเขาเหล่านั้นสามารถพรรณนาความรู้สึกและหน้าที่ความรับผิดชอบเชิงศีลธรรมของพวกเขาต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัว พิธีกรรมสู่ขวัญควายเป็นหนึ่งในพิธีกรรมอันสำคัญเหล่านั้น จากการวิเคราะห์พบว่าในพิธีกรรมสู่ขวัญควายนี้ เราได้ประจักษ์แจ้งถึงการรับรู้ความรู้สึกทางอารมณ์ และภาวะความเจ็บปวดของสิ่งมีชีวิตอื่นซึ่งมีความสามารถรับรู้ความรู้สึกได้ และแม้กระทั่งทั้งความเชื่อในพลังซึ่งสามารถอำนวยพรแก่การเจริญงอกงามแห่งพืชผล และความสามารถสาปแช่งแก่พืชผลได้ปรากฏในพิธีกรรมนี้เช่นกัน ควายในฐานะสิ่งมีชีวิตซึ่งสามารถรู้สึกได้ ย่อมไม่ควรถูกทำให้เจ็บปวดทรมาน หรือในกรณีที่หลีกเลี่ยงไม่ได้การทำให้เกิดความเจ็บปวดนั้นจำเป็นต้องถูกลดให้น้อยที่สุด ทัศนะต่อสัตว์ดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิดที่พบในงานเขียนเรื่อง “จริยศาสตร์สัตว์” ที่มีชื่อเสียงของ ปีเตอร์ ซิงเกอร์ ที่พยายามเรียกร้องสิทธิสัตว์ผ่านกระบวนการทำความเข้าใจทางจริยศาสตร์ อย่างไรก็ตามพิธีสู่ขวัญความก้าวข้ามไปมากกว่านั้น ควาย ณ ที่นี้ ได้รับการขอบคุณ ได้รับความเคารพ และย่อมได้รับการประกอบพิธีกรรมสำหรับเรียกขวัญซึ่งถูกเชื่อว่ามีอยู่ในควาย มิให้จากไป แต่ให้อาศัยอยู่และอวยพรผลผลิตอันงอกงามแก่ผู้คน

References

Books:
Aaltola, Elisa. (2009). Animal Ethics. In J. Baird Callicott & R. Frodeman (Eds.), Encyclopedia of Environmental Ethics and Philosophy (pp. 42-53). USA: Macmillan Reference.

Davis, Richard B. (1984). Muang Metaphysics: A Study of Northern Thai Myth and Ritual. Bangkok: Pandora.

Desjardins, Joseph R. (1993). Environmental Ethics: An Introduction to Environmental Philosophy. California: Wadsworth Publishing Company.

Forbes, Andrew. & Henley, David. (1997). Khon Muang: People and Principalities of Northern Thailand. Bangkok: Teak House.

Midgley, Mary. (1984). Animals and Why They Matter. Athens: University of Georgia Press.

Premchit, Sommai. & Dore, Amphay. (1992). The Lan Na Twelve-Month Traditions. Chiang Mai: So Sap Kan Pim.

Rajadhon, Phya Anuman. (1988). Essays on Thai Folklore. Bangkok: Inter – Religious Commission for Development.

Schliesinger, Joachim. (2016). Origin of Tai People vol. 1: Historical Approach. United States of America: Booksmango Inc.

Singer, Peter. (1976). Animal Liberation: A New Ethics for Our Treatment of Animals. London: Jonathan Cape Ltd.

___________. (1990). Animal Liberation, 2nd ed. New York: New York Review of Books.

___________. (1993). Practical Ethics, 2nd ed. UK: Cambridge University Press.

___________. (1994). Animal Liberation. In Donald VanDeVeer & Christine Pierce, The Environmental Ethics and Policy Book: philosophy, ecology, and economics (pp. 66-73). California: Wadsworth Publishing Company.

Varner, Gary. (2001). Sentientism. In Dale Jamieson (Ed.) in A companion of Environmental Philosophy (pp. 192-203). United Kingdom: Blackwell Publishers Ltd.

Thesis:
Amantea, Franco. (2007). Dress and Identity among the Black Tai of Loei Province in Thailand (Master’s Thesis, Simon Fraser University).

Article:
Llorente, Renzo. (2009). The Moral Framework of Peter Singer’s Animal Liberation: An alternative to utilitarianism. Ethical Perspectives, 16(1). 61-80.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

18-06-2019