ขบวนการอาหารเนิบช้าในฐานะวิถีสู่ชีวิตยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • Piyamas Jaifai Philosophy and Religion,Humanities,CMU

คำสำคัญ:

ขบวนการอาหารเนิบช้า, ชีวิตยั่งยืน, ปรัชญาอาหาร

บทคัดย่อ

ขบวนการอาหารเนิบช้าในฐานะวิถีสู่ชีวิตยั่งยืนเป็นบทความที่มีเนื้อหามาจากส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่อง อาหาร: ข้อถกเถียงทางปรัชญาร่วมสมัย ซึ่งใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมุ่งนำเสนอประเด็นเรื่องขบวนการอาหารเนิบช้าว่าเป็นทางเลือกในการดำเนินชีวิตที่ทำให้ชีวิตยั่งยืน ผลการวิจัยพบว่า ความหมายของขบวน การอาหารเนิบช้าว่าเป็นขบวนการที่ต่อต้านวิถีการกินที่เร่งรีบในยุคปัจจุบัน ใน ขณะเดียวกันส่งเสริมการมีชีวิตที่ดีโดยมีอาหารที่สะอาด ปลอดภัย และมีชีวิตที่สัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ อย่างรื่นรมย์ อาหารเนิบช้ามีหลักการพื้นฐานบนความเชื่อว่าทุกสิ่งมีคุณค่าในตัวเอง ดังนั้นเราจึงควรเคารพและเอื้อเฟื้อต่ออาหารและ สมาชิกในระบบนิเวศ ผลลัพธ์ของอาหารเนิบช้าไม่เพียงแต่ส่งผลดีต่อสุขภาพเท่านั้นยังสนับสนุนวัตถุดิบและวัฒนธรรมอาหารพื้นบ้านซึ่งเป็นการรักษาความหลากหลายของระบบพืชและเมล็ดพันธุ์พื้นบ้าน ระบบอาหารเช่นนี้ยังเอื้อประโยชน์ต่อคนในชุมชน ภูมิปัญญา และความมั่นคงทางอาหาร ซึ่งนำมาสู่ชีวิตที่ยั่งยืนในที่สุด

References

Books:
Drèze, Jean and Sen, Amartya. (1989). Hunger and Public Action. Oxford: Oxford University Press.

Honoré, Carl. (2016). In Praise of Slowness. Translated to Thai by Kannikā Phromsao. The second edition. Bangkok: Open Society.

Jaifai, Piyamas and Sumettikul, Piyaboot. (2019). Food: Philosophical Perspectives in Contemporary Debates. Chiang Mai: Faculty of Humanities Chiang Mai University.

Mason, Jim and Singer, Peter. (2006). The Way We Eat: Why Our Food Choices Matter. New York: Rodale.

McMichael, Phillip. (2016). Food regimes and agrarian questions. Translated to Thai by Soimart Rungmanee. Editor by Pakorn Lertsatienchai. Chiang Mai: The Regional Center for Social Science and Sustainable Development.

Petrini, Carlo. (2005). Slow food nation: why our food should be good, clean, and fair. New York: Rizzoli Ex Libris.

Pingali, Prabhu & Stringer, Randy. (2003). Food Security and Agriculture in the Low Income, Food- Deficit countries: 10 years after the Uruguay Round. Working Papers 03-18. Agricultural and Development Economics Division of the Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO - ESA).

Norberg-Hodge, Helena, Gorelick, Steven and Merrifield, Todd. (2008). Bringing the Food Economy Home: Local Alternatives to Global Agribusiness. Translated to Thai by Phairot Phoomradit. The second edition. Bangkok: Suan nguen mee ma press.

Schlosser, Eric. (2001). Fast Food Nation: The Dark Side of the All-American Meal. Boston: Houghton Mifflin.

Thirapantu, Chaiwat Siribunsop, Supap and Sukrung, Karnjariya. (2012) . malet phan chīwit būranākān : khūmư̄ rīanrū læ thotlō̜ng patibatkān būranākān bǣp rabop thī mī chīwit phư̄a sāngsœ̄m suk phāwa nai sangkhom . The third edition. Bangkok: Thai Health Promotion Foundation.
ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์, สุภาพ สิริบรรสพ และ กรรณจริยา สุขรุ่ง. (2555). เมล็ดพันธุ์ชีวิตบูรณาการ : คู่มือเรียนรู้และทดลองปฏิบัติการบูรณาการแบบระบบที่มีชีวิต เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะในสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

Online:
Hickman, Leo. (2009). Slow food: Have we lost our appetite?. The Guardian. Retrieved Jan 30 2019, from website: https://www.theguardian.com/environment/ 2009/feb/04/slow-food-carlo-petrini

Ruhl, Hannah L. (2013). Slow Food: From Farm to Healthy Body. Human Nutrition and Sustainable Food Systems Thesis, University of Maine, Honors College. Retrieved Jan 30 2019, from website: https://digitalcommons.library.umaine.edu/honors/133

Downloads

เผยแพร่แล้ว

25-12-2019