การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนตามแนวคิดของมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ จังหวัดน่าน

ผู้แต่ง

  • ลักษิกา สมจิตร ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปรุตม์ บุญศรีตัน ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การพัฒนา, คุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน, มูลนิธิปิดทองหลังพระ, พระราชดำริ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวคิดและกระบวนการทำงาน และการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืนของมูลนิธิปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ จังหวัดน่าน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์เชิงลึก

ผลการวิจัยพบว่าแนวคิดและกระบวนการทำงานของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ เป็นการนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่นำร่อง 3 อำเภอในจังหวัดน่าน ตามหลักการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ ที่ว่า“เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” โดยมีหลักเกณฑ์ คือ
(1) อยู่รอด (2) พอเพียง (3) ยั่งยืน มาใช้เป็นเกณฑ์การประเมินผลสภาพปัญหาในแต่ละชุมชน จนนำมาสู่กระบวนการการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ปัญหาร่วมกับชุมชน ตลอดจนสรุปผลการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับแต่ละท้องที่ โดยมีเป้าหมายพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน สามารถทำให้ประชาชนในที่พื้นที่พึ่งพาตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น พร้อมกับการแก้ปัญหาทางธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมกับความต้องการและความจำเป็นของแต่ละพื้นที่

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543). เศรษฐศาสตร์กระแสกลาง: ทิศทางเศรษฐกิจไทยในอนาคต. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.

เกื้อ วงศ์บุญสิน. (2540). ประชากรกับการพัฒนา (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: วิภาษา.

ธนากร สังเขป. (2555). การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปกรณ์ ปรียากร. (2538). ทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาในการบริหารการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สามเจริญพานิช.

พระธรรมปิฎก (ประยุทธ ปยุตโต). (2556). การพัฒนาที่ยั่งยืน (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

พิมพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา. (บรรณาธิการ). (2555). แนวทางการพัฒนาตามตำราแม่ฟ้าหลวง เรื่องการพัฒนาและบริหารจัดการน้ำ.กรุงเทพฯ: มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ.

พีรดนย์ วิชารักษ์. (2555). ปัจจัยความสำเร็จในการพัฒนาและอนุรักษ์เขตพื้นที่ต้นน้าตามโครงการปิดทองหลังพระสืบสานแนวพระราชดำริ จังหวัดน่าน. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

มูลนิธิปิดทองหลังพระ. (2558). รายงานประจำปี 2558 มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระและสถานบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ.

มูลนิธิปิดทองหลังพระ. (2559). รายงานประจำปี 2559 มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระและสถานบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ.

มูลนิธิปิดทองหลังพระ. (2560). รายงานประจำปี 2559 มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิปิดทองหลังพระและสถานบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ.

มูลนิธิปิดทองหลังพระ. (2561). รายงานประจำปี2560 มูลนิธิผู้ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิปิดทองหลังพระและสถานบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ.

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง. (2555). ชุดแนวทางการพัฒนาตามตำราแม่ฟ้าหลวง เรื่องการปลูกป่า ปลูกคน เล่มการเพาะและการปลูกหวายในป่าเศรษฐกิจ. พิมพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ.

มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง. (2555). ชุดแนวทางการพัฒนาตามตำราแม่ฟ้าหลวง เรื่องการปลูกป่า ปลูกคน เล่มการเพาะและการปลูกต๋าวในป่าเศรษฐกิจ. พิมพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา,บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ.

ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต เฉลิมพล แจ่มจันทร์ กาญจนา ตั้งชลทิพย์ และจรัมพร โห้ลำยอง. (2557). คุณภาพชีวิตการทำงาน และความสุข. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

ศิริ ฮามสุโพธ. (2543). ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

สนธยา พลศรี. (2547). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2549). สังคมวิทยาองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2547). การพัฒนาการเรียนรู้ตามแนวพุทธศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โครงการกิติเมธี สาขาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อุดมพร อมรธรรม. (2549). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

24-12-2020