พระพุทธศาสนา : รากฐานการศึกษาไทยที่ควรหันมามอง
คำสำคัญ:
พระพุทธศาสนา, รากฐานการศึกษาไทยบทคัดย่อ
รากฐานการศึกษาไทยเริ่มต้นจากวัดโดยมีพระเป็นผู้สอนทั้งวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต ได้แก่ การรู้ดีรู้ชั่วรู้ถูกรู้ผิด ทั้งนี้เพราะเมืองไทยเป็นประเทศที่ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนามาตั้งแต่ก่อร่างสร้างตัวกลายเป็นประเทศที่มั่นคง มีประเพณีวัฒนธรรมเป็นของตนเอง อย่างไรก็ตามรากฐานการศึกษาไทยเพิ่งจะถ่ายโอนจากบทบาทของพระในวัดและบทบาทของวังในการจัดการศึกษาเมื่อสมัยรัชกาลที่ 6 เป็นต้นมา จนกระทั่งปัจจุบันวิชาพระพระพุทธศาสนาในหลักสูตรขั้นพื้นฐานมีแค่ให้รู้ว่ามี แต่ขาดทักษะการจัดการเรียนการสอนให้เกิดเป็นรูปธรรมหรือเข้าสู่วิถีชีวิตของคนในปัจจุบันอย่างน่าเสียดาย หลักพุทธปรัชญาการศึกษาที่เกิดจากการตกผลึกวิชาการทางโลกผสมกับการตรัสรู้หลักธรรมอันลึกซึ้งของพระพุทธเจ้า ไม่นำมาสู่การประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาหรือหาแนวทางพ้นทุกข์จากสภาพปัญหาการศึกษาไทยที่กำลังเผชิญอยู่ ดังนั้นแนวทางที่ถูกควรจะหันกลับมาดูรากฐานการศึกษาของไทยเพื่อก้าวไปสู่มรรควิธีที่ถูกต้องต่อไป
References
จันทรานี สงวนนาม. (2553). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊คพ้อย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต).(2528). ปรัชญาการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2534). ทางสายอิสรภาพของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2542). พระพระพุทธศาสนาพัฒนาคนและสังคม. กรุงเทพฯ: การศาสนา.
พุทธทาสภิกขุ. (2527). การศึกษาคืออะไร. กรุงเทพฯ: สมชายการพิมพ์.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วิจิตร เกิดวิสิษฐ์. (2538). พุทธปรัชญากับการศึกษา. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, 2 (3),22-41.
ศักดา ปรางค์ประทานพร. (2526). ปรัชญาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สาโรช บัวศรี. (2529). การศึกษาตามแนวพุทธศาสตร์. กรุงเทพฯ: เจริญผล.
อำพล บุดดาสาร. (2559). ปรัชญาการศึกษาเพื่อพัฒนามนุษย์แนวพุทธปรัชญา. กรุงเทพฯ : โปร์เท็กซ์.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th