แนวคิดเชิงปรัชญาในเทียนบูชาของชาวล้านนา

ผู้แต่ง

  • พระนนทนันท์ มูลยศ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • วิโรจน์ อินทนนท์ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ปิยะมาศ ใจใฝ่ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

เทียนบูชา, ล้านนา, อภิปรัชญา, จริยศาสตร์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เรื่องแนวคิดเชิงปรัชญาในเทียนบูชาล้านนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการของเทียนบูชาภายใต้บริบททางวัฒนธรรมล้านนา และวิเคราะห์แนวคิดเชิงปรัชญาที่ปรากฏในเทียนบูชาของชาวล้านนา เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากแหล่งข้อมูล ได้แก่ เอกสารพับสา สมุดข่อย ใบลาน และหนังสือที่เกี่ยวกับเทียนบูชาของชาวล้านนา รวมถึงบทความและวารสารที่เกี่ยวข้อง การสังเกตและสัมภาษณ์ต่อผู้มีภูมิปัญญาเกี่ยวกับเทียนบูชาของชาวล้านนา การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทำเทียน จำนวน 10 รูป/คน และผู้บูชาเทียนจำนวน 9 รูป/คน    ผลการวิจัยพบว่าเทียนบูชาในล้านนามีแนวคิดอภิปรัชญา 3 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดสสารนิยม แนวคิดจิตนิยม แนวคิดธรรมชาตินิยม และปรากฏแนวคิดจริยศาสตร์ 3 แนวคิด ได้แก่พุทธจริยศาสตร์ จริยศาสตร์แบบสัมพัทธนิยม และจริยศาสตร์แบบประโยชน์นิยม

References

เกริก อัครชิโนเรศ. (2554). การศึกษาวิเคราะห์ติรัจฉานวิชาในพระพุทธศาสนาตามที่ปรากฏในเอกสารล้านนา. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพุทธศาสนศึกษา, คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

พระพิษณุพล สุวณฺณรูโป (รูปทอง). (2554). การศึกษาหลักพุทธธรรมและคุณค่าที่ปรากฏในยันต์เทียนล้านนา:กรณีศึกษาเฉพาะในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. (วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง

กรณราชวิทยาลัย).

หน่อหนานฝน. (นามปากกา). (2556). ประเพณีเมืองเหนือจากปั๊บสาล้านนา. ลำพูน : ณัฐพลการพิมพ์.

ปวงคํา ตุ้ยเขียว. (2552). ยันต์. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย-ล้านนา (ภาคเหนือ เล่ม 11). กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย

ธนาคารไทยพาณิชย์.

มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย. (2542). สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์.

วิโรจน์ อินทนนท์. (2554). ความคิดล้านนา. เชียงใหม่: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิโรจน์ อินทนนท์ .(2559). ความคิดล้านนา. เชียงใหม่: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิลักษณ์ ศรีป่าซาง. (2558). คง เข้ม ข่าม ขลัง เครื่องรางล้านนา: ศาสตร์แห่งศรัทธามนตราของแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: บ้านวรรณกรรม.

อุดม รุ่งเรืองศรี. (2434). พจนานุกรมล้านนา-ไทย ฉบับแม่ฟ้าหลวง. เชียงใหม่: มิ่งเมือง.

อินสม ไชยชมพู. (2552). ยันต์และคาถาของดีเมืองเหนือ. ลำพูน: ร้านภิญโญ.

ฮันส์ เพนธ์, แอนดรู ฟอร์บส์. (2547). ประวัติศาสตร์ล้านนาฉบับย่อ. แปลโดย ศิริรัฐ ทองใหญ่ ณ อยุธยา.เชียงใหม่ : ซิลค์เวอร์ม.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

26-06-2021