ทฤษฎีการให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกเล่าของประจักษ์พยานในพุทธศาสนาเถรวาท
คำสำคัญ:
การให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน, พุทธศาสนาเถรวาท, ลดทอนนิยมบทคัดย่อ
ในประเด็นปัญหาทางญาณวิทยา คำบอกเล่าของประจักษ์พยาน (testimony) ถือเป็นหนึ่งในแหล่งที่มาของความรู้ที่หลากหลายแหล่ง คำถามของประเด็นปัญหาดังกล่าวนี้ก็คือว่า เมื่อใดที่คำบอกเล่าของประจักษ์พยานจะมีเหตุผลสนับสนุนหรือมีเหตุอันควรให้เชื่อ ในบทความนี้ผู้เขียนมีจุดมุ่งหมายสำคัญคือ นำเสนอทฤษฎีการให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกกเล่าของประจักษ์พยานตามแนวทางของพุทธศาสนาเถรวาท โดยทั่วไปแล้ว ทฤษฎีการให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกเล่าของประจักษ์พยานจะแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ (1) แนวทางแบบลดทอนนิยมและ (2) แนวทางปฏิเสธลดทอนนิยม ตามแนวทางของทฤษฎีการให้เหตุผลสนับสนุนสำหรับคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน ผู้เขียนใช้ทฤษฎีดังกล่าวในการวิเคราะห์การให้เหตุผลสนับสนุนคำบอกเล่าของประจักษ์พยานในพุทธศาสนาเถรวาท ผลการวิเคราะห์พบว่า พุทธศาสนาเถรวาทยอมรับคำบอกเล่าของประจักษ์พยานตามแนวทางลดทอนนิยม ซึ่งปรากฏในพระสูตรคือเกสปุตฺตสูตรและสันทกะสูตร โดยที่การให้เหตุผลสนับสนุนแบบลดทอนนิยมในพุทธศาสนาเถรวาท ถูกสนับสนุนโดยการส่งผ่านคำบอกเล่าของประจักษ์พยาน (transmission of testimony) ที่เป็นอิสระจากความเชื่อดั้งเดิมหรืออำนาจทางญาณวิทยา
References
เฉลียว พันธุ์สีดา และกุลยา สุขพงษ์ไทย. (2557). สารสนเทศ : การเรียนรู้เพื่อใช้ประโยชน์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 8(15), 119-125.
ฐิติ วิทยสรณะ. (2562). การสร้างกรอบแนวคิดเพื่อศึกษาการรู้เท่าทันสื่อตามแนวพุทธวิถี. วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์, 23(1), 355-361.
พระมหาปรทัตติ ปรทตฺตูปชีวี. (2561). แนวทางการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริงตามหลักพระพุทธศาสนา. วารสารสันติศึกษาปริทัศน์ มจร, 6(4), 1556-1567.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎก ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2539). มนุษย์กับการแสวงหาความรู้: ข้อเสนอจากพุทธปรัชญาว่าด้วยบทบาทและธรรมชาติของความรู้. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา, 3(2), 5-28.
อัญชลี ปิยปัญญาวงศ์. (2547). มโนทัศน์เรื่องเหตุการณ์อัศจรรย์ของเดวิด ฮูม. (วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา, คณะอักษรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
Bilimoria, P. (1988). Sabdapramana, Word and Knowledge: A Doctrine in Mimamsa-Nyaya Philosophy (with Reference to Advaita Vedanta-paribhasa'Agama'): Towards a Framework for Sruti-pramanya. Dordrecht: Kluwer Academic Publishers.
Burge, T. (1993). Content preservation. The Philosophical Review, 102(4), 457-488.
Dummett, M. (1994). Testimony and memory. In Matilal, B. K., Chakrabarti, A. (Eds.), Knowing from Words: Western and Indian philosophical analysis of understanding and testimony (pp. 251-272). New York: Springer Science & Business Media.
Freschi, E. (2018). There is only “Philosophy”: The case of testimony. Kervan. International Journal of Afro-Asiatic Studies, (21), 141-154.
Gelfert, A. (2014). A Critical Introduction to Testimony. London: Bloomsbury.
Goldman, A. I. (2011). A Guide to Social Epistemology. In Goldman, A. and Whitcomb, D. (Eds.). Social Epistemology: Essential Readings (pp. 11-37.). Oxford: Oxford University Press.
Hardwig, J. (1985). Epistemic Dependence. The Journal of philosophy, 82(7), 335-349.
Jayatilleke, K. N. (1963). Early Buddhist Theory of Knowledge. London: George Allen & Unwin Ltd.
Keo, R. (2018). The Source of Knowledge in Theravāda Buddhist Philosophy. Doctor of Philosophy Thesis in Philosophy, Graduate School, Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Lackey, J. (2006). Knowing from testimony. Philosophy Compass, 1(5), 432-448.
Lackey, J. (2011). Testimony: Acquiring Knowledge from Others. In Goldman, A., & Whitcomb, D. (Ed.). Social Epistemology: Essential Readings. (pp. 71 – 91) Oxford University Press.
McMyler, B. (2011). Testimony, Trust, And Authority. New York: Oxford University Press.
Moran, R. (2005, June). Problems of sincerity. In Proceedings of the Aristotelian Society (Vol. 105, No. 1, pp. 325-345). Oxford, UK: Oxford University Press.
Ross, A. (1986). Why do We Believe What We Are Told?. Ratio, (1), 69-88.
Stoltz, J. (2009). Buddhist Epistemology: The Study of Pramana. Religion Compass, 3(4), 537-548.
Weiner, M. (2003). Accepting testimony. The Philosophical Quarterly, 53(211), 256-264.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th