อิทัปปัจจยตาทางจริยศาสตร์
คำสำคัญ:
อิทัปปัจจยตา, ปฏิจจสมุปบาท, พุทธจริยศาสตร์บทคัดย่อ
จริยศาสตร์เป็นเรื่องของการตอบคำถามที่ว่า อะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ เราควรมีชีวิตอยู่อย่างไรและเราจะใช้เกณฑ์อะไรในการตัดสินถูก ผิด บทความนี้เสนอหลักอิทัปปัจจยตา เป็นแนวคิดที่ถอดมาจากหลักปฏิจจสมุปบาทอันเป็นหลักธรรมที่สำคัญในพุทธศาสนา เพื่อเป็นข้อพิจารณาเบื้องต้นในการสร้างมุมมองจริยศาสตร์จากโลกทัศน์แบบอิทัปปัจจยตา เรียกว่า อิทัปปัจจยตาทางจริยศาสตร์โดยพิจารณาใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) อภิจริยศาสตร์ (Metaethics) เพื่อเสนอว่าสาระทางจริยธรรมแบบอิทัปปัจจยตามีสถานภาพอย่างไร เราสามารถนิยามความดีชั่วถูกผิดได้จริงหรือไม่ (2) จริยศาสตร์ในเชิงบรรทัดฐาน เพื่อเสนอคำตอบเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิตและเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมบนพื้นฐานของหลักอิทัปปัจจยตา (3) จริยศาสตร์ประยุกต์ เพื่อเสนอว่าอิทัปปัจจยตาทางจริยศาสตร์มีแนวทางในการประยุกต์ใช้กับปัญหาจริยธรรมอย่างไร
References
เค.เอ็น. ชยติเลเก. (2532). จริยศาสตร์แนวพุทธ. แปลและเรียบเรียงโดย
สุเชาว์ พลอยชม. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
เทพพร มังธานี. (2547). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาจริยศาสตร์.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2532). พุทธธรรม (ฉบับปรับปรุงและ
ขยายความ) . พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2553). พจนานุกรมพุทธศาสน์
ฉบับประมวลศัพท์.กรุงเทพฯ: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ.
พระมหาอุทัย ญฺาณธโร. (2539). วิถีแห่งกลไกแบบพุทธ : อภิปรัชญาของ
พุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.
พุทธทาสภิกขุ. (2537). อิทัปปัจจยตาของท่านพุทธทาสภิกขุ ฉบับย่นความ
โดยเช่นนั้นเอง. กรุงเทพ ฯ: สุขภาพใจ.
พุทธทาสภิกขุ. (2524). ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
คณะธรรมทาน ไชยา.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย เล่มที่ 4,12, 15,16,20. กรุงเทพฯ:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2527). วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺส ตติโย ภาโค .
กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
James Fieser. (2000). Metaethics, Normative ethics, and Applied
ethics. USA : Wadsworth Puplishing Company.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th