นามกายในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท: การตีความความหมายที่เป็นไปได้
คำสำคัญ:
นามกาย, นามขันธ์, คัมภีร์พระพุทธศาสนา, เถรวาทบทคัดย่อ
“นามกาย” (Nāmakāya) เป็นศัพท์ที่พบในพระสูตร แต่ไม่ได้มีคำอธิบายความหมายที่ชัดเจน นักวิชาการบางกลุ่มอธิบายคำศัพท์นี้โดยอ้างอิงตามความหมายของอรรถกถาว่า “นามขันธ์” ในขณะที่นักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งอาศัยบริบทที่เกี่ยวข้องกับนามกายในพระสูตร แล้วตีความศัพท์คำนี้ว่าหมายถึง “กาย” รูปแบบหนึ่งที่แตกต่างจาก “รูปกาย”
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายที่เป็นไปได้ของ “นามกาย” โดยจำกัดขอบเขตการศึกษาเชิงเอกสารอยู่ที่คัมภีร์ชั้นพระสูตรและชั้นอรรถกถาของเถรวาท ผลการศึกษาพบว่า นามกายในชั้นพระสูตรถูกใช้ใน 2 บริบทที่มีความสำคัญมาก ได้แก่ 1) กระบวนการรับรู้ของ “ผัสสะ” ในปฏิจจสมุปบาท และ 2) ขั้นตอนการหลุดพ้นของ “มุนี” ส่วนชั้นอรรถกถานั้น นอกจาก “นามกาย” จะถูกอธิบายว่าหมายถึง “นามขันธ์” (เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ) แล้ว ยังมีความหมายถึงการบรรลุธรรม และสภาวะธรรมอย่างหนึ่งของผู้ได้ฌาน พระอริยบุคคล พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอีกด้วย ดังนั้น ผู้เขียนเห็นว่าศัพท์ว่า “นามกาย” ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทอาจจะมีความหมายมากกว่า 1 ความหมาย นอกจากจะหมายถึง กองแห่งนาม (นามขันธ์) แล้วยังหมายถึง กายอันเป็นนามที่เกิดจากการปฏิบัติสมาธิอีกด้วย ขึ้นอยู่กับบริบทที่ศัพท์นี้ถูกนำมาอธิบายความหมาย
References
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2543). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาพงศ์ศักดิ์ ฐานิโย (คงคารัตนรักษ์). (2559). การวิจัยเชิงคัมภีร์ กรณีศึกษา “ธัมมจักกัปปวัตน- สูตร". ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 2(1) (ฉบับรวมที่ 2), 1-33.
พระสิริทัศน์ธรรมาภรณ์ (สุพจน์ สุจิตฺโต). (2545). ข้อคิดจากการแปลพระไตรปิฎก. ในเก็บเพชรจาก คัมภีร์พระไตรปิฎก (หน้า 225-233). กองวิชาการ สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 10, 12, 23, 25, 28, 30, 31, 35. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2558). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก ภาค 8. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทา มรรค ภาค 2. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2556). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ธรรมบท ภาค 1-2. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2557). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต ปรมัตถโชติกา ภาค 2. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2556). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2556). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2557). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2552). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ปปัญจสูทนี ภาค 1. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2559). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก- เอกาทสกนิบาต มโนรถปูรณี ภาค 3. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2556). อรรถกถาภาษาไทย พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต มโนรถปูรณี ภาค 1. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560). อรรถกถาภาษาไทย พระอภิธรรมปิฎก อัฏฐสาลินี.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2560). อรรถกถาภาษาไทย พระอภิธรรมปิฎก ปัญจปกรณ์.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ. (2537). ปรมัตถมัญชุสา วิสุทธิมรรคมหาฎีกา ภาค 3 ฉบับภูมิพโลภิกขุ.
มูลนิธิภูมิพโลภิกขุ.
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม. (2558). “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ” ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระวักกลิ. ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 1(1) (ฉบับรวม ที่ 1), 201-257.
สุทัศน์ อร่ามรัตน์, และประเวศ อินทองปาน. (2565). การกําเนิดและพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก.
ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา, 8(2) (ฉบับรวมที่ 15), 3-58.
สุธี สุดประเสริฐ. (2553). โปรแกรมตรวจหาและเทียบเคียง พุทธวจนจากพระไตรปิฎก (E-Tipitaka ver 3.1.0). [ซอฟต์แวร์]. https://etipitaka.com/#download
หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธัช). (2540). ธาตุปฺปทีปิกา หรือ พจนานุกรม บาลี-ไทย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย.
Ānandajoti Bhikkhu. (2020). A Comparative Edition of the Dhammapada.
https://satima.net/a-comparative-edition-of-the-dhammapada-anandajoti- bhikkhu-eng/.
Bodhi Bhikkhu (Trans.). (2000). The great discourse on causation: The Mahānidāna and Its Commentaries (1st ed., 1984). Buddhist Publication Society.
Falk, Maryla. (1943). Nama-Rupa and Dharma-Rupa: Origins and Aspects of an Ancient Indian Conception. Jain Publishing Company, Inc..
Hata,M.畑晶利. (2002). Some aspects of ucchedavāda in early Buddhist literature. 初期仏典に おける断滅論の諸相. Machikaneyama-ronso, 待業山論叢, 36, 33-49. http://hdl.handle.net
/11094/5095
Tomita, Mariko. (2016). Issues on “Nibbāna” with Special Reference to Verse No. 1074 of the “Upasīvamāṇavapucchā” in the “Suttanipāta”. Journal of Indian Philosophy, 44(2), 377-391. https://doi.org/10.1007/s10781-014-9267-y
Nakamura, H. (Trans.). (2005). Words of the Buddha: Suttanipāta. (1st ed., 1984),
Iwanami Bunko.
Norman, K. R. (2006). The group of discourses (Sutta-nipāta) (2nd ed.).
PTS.
Schayer, Stanisław. (1936). Über den Somatismus der indischen Psychologie. in Bulletin International de l'Académie Polonaise des Sciences et des Lettres, Classe de Philologie (Cracow), (7-10), 159-168.
Thanissaro Bhikkhu. (1997). Maha-nidana Sutta: The Great Causes Discourse.
https://www.accesstoinsight.org/tipitaka/dn/dn.15.0.than.html.
T.W. Rhys Davids, W. Stede. (1921–1925). Pāli-English Dictionary.
PTS.
Wynne, A. (2007). The origin of Buddhist meditation.
Routledge.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารปณิธาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th