จาก “สุราเมรัย” ในสมัยพุทธกาล ถึง “ยาเสพติด” ในสังคมไทย
การตีความและสังเคราะห์ตามหลักเบญจศีลข้อที่ 5
คำสำคัญ:
ศีล 5, สุราเมรัย, ยาเสพติด, การตีความ, การสังเคราะห์บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งตีความและสังเคราะห์หลักเบญจศีลข้อ 5 สุราเมรัยฯ กับ ยาเสพติดในสังคมไทยปัจจุบัน พบว่า ศีลข้อนี้มีความหมาย 2 ประการ คือ 1) เจตนางดเว้นจากของมึนเมาคือสุราเมรัย และ 2) เจตนางดเว้นจากสุราเมรัยและของมึนเมา ซึ่งมีการตีความวัตถุต้องห้าม 2 แนวทาง ได้แก่ 1) เน้นวัตถุต้องห้าม 2 ประการ ได้แก่ สุรา และ เมรัย โดยใช้หลักมหาปเทสขยายความหมายให้ครอบคลุมยาเสพติดชนิดอื่น ๆ แต่ต้องเป็นยาเสพติดที่เสพโดยการดื่มหรือกินเท่านั้น จึงจะมีองค์ประกอบการกระทำความผิดครบครบสมบูรณ์ และ 2) เน้นวัตถุต้องห้าม 3 ประการ ได้แก่ สุรา เมรัย และของมึนเมา ข้อนี้ไม่ต้องใช้หลักมหาปเทส แต่อาศัยการตีความ “ของมึนเมา” ให้ครอบคลุมยาเสพติดที่เสพโดยการดื่มหรือกินเช่นกัน จึงจะมีองค์ประกอบการกระทำความผิดครบสมบูรณ์ เมื่อสังเคราะห์ยาเสพติดกับหลักเบญจศีลข้อ 5 สามารถจำแนกผลได้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม 1 ยาเสพติดที่ทำให้ผิดศีล หากเสพด้วยวิธีการดื่มหรือกิน แต่ไม่ผิดศีลหากเสพด้วยวิธีการสูด ดม สูบ หรือฉีด เช่น ฝิ่น มอร์ฟีน ยาบ้า ยาอี กระท่อม เคตามีน และกัญชา และ กลุ่ม 2 ยาเสพติดที่ไม่ทำให้ผิดศีล เพราะเสพด้วยวิธีการสูด ดม สูบ หรือฉีด เช่น เฮโรอีน ไอซ์ และโคเคน ซึ่งผู้เขียนเห็นด้วยกับทั้งสองกลุ่มนี้ นอกจากนี้ การมีศีลข้อ 5 นี้ยังต้องประกอบด้วยเบญจธรรม คือ สติ และ ความไม่ประมาท ที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติศีลข้อนี้มีความเข้าใจและสามารถหลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดความมัวเมาได้ครอบคลุมทุกอย่าง
References
คูณ โทขันธ์. (2537). ศาสนาเปรียบเทียบ. โอเดียนสโตร์.
ประกาศกรมสรรพสามิต. (2560) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการผลิตสุราและการนำสุราออกจากโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อตรวจวิเคราะห์ในขั้นตอนการผลิต. สืบค้นจาก https://lawelcs.excise.go.th/lawdetail?id=5705
ปัญญา เสนภูงา และพระมหามิตร ฐิตปญฺโญ. (2562). หลักศีล 5: การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(3), 275-284. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/dhammathas/article/view/150159
ปิ่น มุทุกันต์. (2536). คำบรรยายพุทธศาสตร์ ภาค 1 ฉบับฉลอง 25 พุทธศตวรรษ. คลังวิทยา.
พระญาณวโรดม (สนธิ์ กิจฺจกาโร). (2543). ประมวลปัญหาและเฉลย เบญจศีลเบญจธรรมและอุโบสถศีล (สำหรับธรรมศึกษาชั้นตรี) (พิมพ์ครั้งที่ 13). มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดศัพท์วิเคราะห์. โรงพิมพ์เลี่ยงเซียง.
พระมหาถาวร ขนฺติวิชฺโช. (2566). การบูรณาการศีล 5 กับการแก้ไขปัญหาความยากจนในสังคมไทย. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ, 6(5), 144-157. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/bim/article/view/263616
พระมหาพงศ์ทราทิตย์ ก้องเสียง และคณะ. (2563). ศีลห้าเครื่องมือพัฒนาบุคลิกภาพ. วารสารรัตนปัญญา, 5(2), 271-279. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BLJOU/article/view/245931
พระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551. (2551). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 33 ก. หน้า 35. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/uploads/ckeditor/c74d97b01eae257e44aa9d5bade97baf/files/lawalc/001_1alc.PDF
กระทรวงสาธารณสุข. (2560). พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 32 ก. หน้า 35. สืบค้นจาก https://www.excise.go.th/cs/groups/พื้นที่นครพนม/documents/document/dwnt/mziw/~edisp/uatucm320149.pdf
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด. (2564). พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564. ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 138 ตอนที่ 73 ก. หน้า 12. สืบค้นจาก https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2564/A/073/T_0001.PDF
พระโอภาส โอภาโส และพระณัฐพงษ์ ญาณเมธี. (2564). ศึกษาวิกฤตสังคมไทยจากกรณีการละเมิดศีล 5. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(3), 133. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/251157
ฟื้น ดอกบัว. (2542). พระพุทธศาสนากับคนไทย. ศิลปาบรรณาคาร.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2520). ปทานุกรมบาลี ไทย อังกฤษ สันสกฤต ฉบับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2536). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล 91 เล่ม ฉบับมหากุฏราชวิทยาลัย (พิมพ์ครั้งที่ 3). โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2552). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (พิมพ์ครั้งที่ 3; แก้ไขเพิ่มเติม). ราชบัณฑิตยสถาน.
วรรณสิทธิ ไวทยะเสวี. (2548). คู่มือการศึกษาพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉทที่ 5 วิถีมุตตสังคหวิภาค (พิมพ์ครั้งที่ 6). มูลนิธิแนบมหานีรานนท์.
วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). ธรรมดา.
วิโรจน์ คุ้มครอง. (2562). พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก. อักขระการพิมพ์.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2562). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (พิมพ์ครั้งที่ 53). มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2564). ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม (พิมพ์ครั้งที่ 236). สหธรรมิก.
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2565). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (พิมพ์ครั้งที่ 37; เล่มขนาดใหญ่). โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2538). เบญจศีลเบญจธรรม: หลักสูตรธรรมศึกษาชั้นตรี (พิมพ์ครั้งที่ 15). มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2543). วินัยมุขเล่ม 2 หลักสูตรนักธรรมชั้นโท (พิมพ์ครั้งที่ 31). มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมภาร พรมทา. (2548). พุทธศาสนากับปัญหาจริยศาสตร์ โสเภณี ทำแท้ง และการุณยฆาต (พิมพ์ครั้งที่ 3). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. (2557). เครื่องดื่มในงานบริการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
หน่วยบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด กรมแพทย์ทหารเรือ. (2561). คู่มือการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในกองทัพเรือ (สำหรับบุคลากรสายแพทย์). ทูทวินพริ้นติ้ง.
อุดมชัย อมาตยกุล และคณะ. (2562). การแก้ไขปัญหาการดื่มสุราเชิงพุทธบูรณาการ. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(5), 2213-2232. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JMND/article/view/192347
HandWiki. (2022). Philosophy: Five precepts. Encyclopedia of Knowledge. Retrieved from https://handwiki.org/wiki/Philosophy:Five_precepts
Lebron, Robyn. (2017). The Search for Peace in Times of Chaos Volume 2: Interfaith Journey of 20 World Religions and Faith Practices. Yorkshire Publishing.
Tricycle Buddhism for Beginners. (2023). The Fifth Precept: Refrain from Intoxicants. Retrieved from https://tricycle.org/beginners/buddhism/the-fifth-precept-refrain-from-intoxicants/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารปณิธาน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาของบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารปณิธานถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารปณิธาน ห้ามเผยแพร่ ตัดต่อ แก้ไข หรือนำไปใช้ก่อนได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถติดต่อขอเผยแพร่เนื้อหาในวารสารปณิธานได้ที่ panidhana-human@cmu.ac.th