ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการเป็นจิตอาสา: กรณีศึกษาจังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส

Main Article Content

อัยนา ไทยประทาน
เขมิกา หวังสุข
วนิดา พิมพ์โคตร

บทคัดย่อ

        การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจการเป็นจิตอาสาในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยใช้การรูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงสำรวจด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างที่เลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เป็นจิตอาสาที่เคยทำงานในพื้นที่ 3 จังหวัด จำนวน 280 ตัวอย่าง และทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) เพื่อหาแรงจูงใจการเป็นจิตอาสาในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการให้คุณค่า และการเข้าสังคม ส่งผลทางบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อการเป็นจิตอาสาในพื้นที่ 3 จังหวัด ในขณะที่การทำความเข้าใจ และการปกป้องตนเอง ส่งผลทางบวกอย่างไม่มีนัยสำคัญ และการเพิ่มประสิทธิภาพ ส่งผลทางลบอย่างไม่มีนัยสำคัญต่อการเป็นจิตอาสาในพื้นที่ 3 จังหวัด

Article Details

บท
Research Articles

References

Alqasa, K. M. A., & Al Qahtani, A. M. (2022). The factors affecting Volunteer Motivation among Non-Profit Organizations in the Kingdom of Saudi Arabia (KSA). Social Space, 22(2), 445-465.

Alsehaimi, A. (2023). Impact of Volunteer Work on Improving the Quality of Social Life from the Perspective of Social Work Specialists. International Journal of Social Work, 10(1), 39-61.

Blanchard, J.A. (2006). Hospital Volunteers: A Qualitative Study of Motivation. The International Journal of Volunteer Administration, 24(2), 31–40.

Clary, E.G., Snyder, M., Ridge, R.D., Copeland, J., Stukas, A.A., Haugen, J., & Miene, P. (1998). Understanding and assessing the motivations of volunteers: A functional approach. Journal of Personality and Social Psychology, 74(6), 1516-1530.

Güntert, S.T., Wehner, T., & Mieg, H.A. (2022). Organizational, Motivational, and Cultural Contexts of Volunteering The European View. SpringerBriefs in Psychology. Springer, Cham. https://link.springer.com/book/10.1007/978-3-030-92817-9

Hair, J.F., Sarstedt, M., Hopkins, L., & Kuppelwieser, V. G. (2014). Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): An emerging tool in business research. European Business Review, 26(2), 106-121.

Jigssa, H.A., Desta, B.F., Tilahun, H.A., McCutcheon, J.L., & Berman, P. (2018). Factors contributing to motivation of volunteer community health workers in Ethiopia: the case of four woredas (districts) in Oromia and Tigray regions. Human Resources for Health, 16, 1-11.

Ferreira, M.R., Proença, T. & Proença, J.F. (2012). Motivation among hospital volunteers: an empirical analysis in Portugal. International Review on Public and Nonprofit Marketing, 9(2), 137-152.

Muckaden, M.A., & Pandya, S.S. (2016). Motivation of Volunteers to Work in Palliative Care Setting: A Qualitative Study. Indian Journal of Palliative Care, 22, 348 - 353.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2567). ความหมายของคำว่า “จิตอาสา”. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2567, จาก https://jitarsa.moe.go.th/history-3/

ชัยพร เอกชัย และอารี พันธ์มณี. (2565). ปัจจัยทางจิตวิทยาที่ส่งผลต่อจิตสาธารณะในการทำงานอาสาสมัครของผู้นำชุมชนกรุงเทพมหานคร. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 12(1), 106-117.

นิพิฐพนธ์ แสงด้วง และอังศินันท์ อินทรกำแหง. (2559). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมอาสาที่ส่งผลต่อการคงอยู่ในการทำงานอาสาของ13. บุคลากรเกษียณอายุ ในมหาวิทยาลัยภาครัฐ. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 8(2), 133-150.

พิไลวรรณ บุญล้น, สิริวัฒน์ ศรีเครือดง, และกมลาศ ภูวชนาธิพงศ์. (2564). แรงจูงใจการทำงานจิตอาสาตามหลักพุทธจิตวิทยาของบุคคล หลากหลายอาชีพในสังคมไทย. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 7(1), 71-86.

มารีษา ศรีสุภา และดวงกมล บางชวด. (2565). การศึกษาความตองการการจัดรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอาสาสมัคร สภากาชาดไทย. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา (OJED), 17(2), OJED1702007 (13 หน้า) DOI: 10.14456/ojed.2022.46. สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/view/258927/

ธนวัชระ วิเศษศรี, เจตน์สฤษฏิ์ อังศุกาญจนกุล, การุณันทน์ รัตนแสนวงษ์ และพิเศษ ศิริเกษม. (2566). รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพเครือข่ายจิตอาสาประชาสังคม ด้านการแก้ไขปัญหาความมั่นคงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 13(4), 900-914.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2567). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2570). สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2567, จาก https://www.nesdc.go.th /ewt_news.php?nid=13651&filename=develop_issue