การใช้กิจกรรมแบบร่วมมือจิกซอว์ประยุกต์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ ในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีความรู้ระดับชั้นต้น
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้กิจกรรมความเข้าใจในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมแบบร่วมมือจิกซอว์ประยุกต์ กลุ่มประชากรที่ศึกษาเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยพายัพ ที่ลงทะเบียนรายวิชาภาษาญี่ปุ่น 3 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จำนวนทั้งหมด 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบจิกซอว์ประยุกต์ จำนวน 4 แผน และแบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านภาษาญี่ปุ่นเพื่อความเข้าใจ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า ความเข้าใจในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของผู้เรียนเพิ่มขึ้น หลังจากเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบเทคนิคจิกซอว์ประยุกต์มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 13.75 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 18.75 คะแนน ตามลำดับ
Article Details
How to Cite
สุขสมณะ ช. . (2021). การใช้กิจกรรมแบบร่วมมือจิกซอว์ประยุกต์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ ในการอ่านภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีความรู้ระดับชั้นต้น . วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 31(1), 63–74. https://doi.org/10.14456/pyuj.2021.5
บท
บทความวิจัย
References
ชัยเวียง โคตรดก. (2559). ผลการใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเพิ่มพูนทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นพเก้า ณ พัทลุง. (2558). การประเมินหลักสูตร: มิติที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตร. วารสารการศึกษา กทม, 6(11), 25-36.
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผกาศรี เย็นบุตร. (2542). เอกสารประกอบการสอนวิชา ท.0211 (การอ่าน). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วงศ์ปกรณ์ พชรธรรมโรจน์. (2551) ผลการเรียนแบบร่วมมือแบบจิกซอว์โดยใช้บล็อกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สงวน เกตุปรางค์. (2553). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยกระบวนการร่วมมือกับเทคนิค Jigsaw. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักวิชาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สุวคนธ์ ทองแม้น. (2547). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยเทคนิคจิกซอว์ (Jigsaw) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Bournemouth University. (2002). Peer assisted learning, Retrieved June 17, 2020. http://www. peerlearning .ac.uk/htm/all about.pal.html
Fuchs, L. S., & Fuchs, D. (1998). Treatment validity: A unifying concept for conceptualizing the identification of learning disabilities. Learning disabilities Research and Practice, 13(4), 204-219.
Iijima, Y. (2012). ピア・リーディングによるノートテイキングの試みー「日本事情」クラスにおけるドキュメンタリー映像視聴の記憶として」(Using peer reading skill for note-taking: Though the note-taking activities of documentary movies in ‘current issue in Japan’). Master’s thesis. Kansai University of International Studies.
Johnson, D. W. & Johnson, R. T. (1991). Learning together and alone. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Tateoka, Y. (2006). Hitoride yomu koto kara pia riiingu e nihongo gakushuusha no dokkai katei to taiwa teki kyoudou gakushuu (Japanese learning from reading alone to ‘Peer reading’: reading process of Japanese language learners and collaborative learning through dialogue). Tokyo: Tokai University.
นพเก้า ณ พัทลุง. (2558). การประเมินหลักสูตร: มิติที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตร. วารสารการศึกษา กทม, 6(11), 25-36.
ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผกาศรี เย็นบุตร. (2542). เอกสารประกอบการสอนวิชา ท.0211 (การอ่าน). กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วงศ์ปกรณ์ พชรธรรมโรจน์. (2551) ผลการเรียนแบบร่วมมือแบบจิกซอว์โดยใช้บล็อกที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาฝรั่งเศสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สงวน เกตุปรางค์. (2553). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยกระบวนการร่วมมือกับเทคนิค Jigsaw. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักวิชาคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ผู้แต่ง.
สุวคนธ์ ทองแม้น. (2547). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความด้วยเทคนิคจิกซอว์ (Jigsaw) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Bournemouth University. (2002). Peer assisted learning, Retrieved June 17, 2020. http://www. peerlearning .ac.uk/htm/all about.pal.html
Fuchs, L. S., & Fuchs, D. (1998). Treatment validity: A unifying concept for conceptualizing the identification of learning disabilities. Learning disabilities Research and Practice, 13(4), 204-219.
Iijima, Y. (2012). ピア・リーディングによるノートテイキングの試みー「日本事情」クラスにおけるドキュメンタリー映像視聴の記憶として」(Using peer reading skill for note-taking: Though the note-taking activities of documentary movies in ‘current issue in Japan’). Master’s thesis. Kansai University of International Studies.
Johnson, D. W. & Johnson, R. T. (1991). Learning together and alone. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Tateoka, Y. (2006). Hitoride yomu koto kara pia riiingu e nihongo gakushuusha no dokkai katei to taiwa teki kyoudou gakushuu (Japanese learning from reading alone to ‘Peer reading’: reading process of Japanese language learners and collaborative learning through dialogue). Tokyo: Tokai University.