อิทธิพลของแรงจูงใจ พฤติกรรมการเปิดรับ การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจต่อเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ติดโปร” ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ผ่านช่องทางอี-คอมเมิร์ซของสมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร”

Main Article Content

กชกร ยศนันท์
วีรพงษ์ พวงเล็ก

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเกี่ยวกับ อิทธิพลของ แรงจูงใจ พฤติกรรมการเปิดรับ การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจต่อเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ติดโปร” ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านผ่านช่องทาง อี-คอมเมิร์ซของสมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร” กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ สมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร” จำนวน 330 คน ทั้งในกรุงเทพมหานคร และนอกเขตกรุงเทพมหานคร โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ (Questionnaire survey) สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณสามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจซื้อสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านผ่านช่องทางอี-คอมเมิร์ซ ของสมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร” โดยสามารถนำมาสร้างเป็นการทำนาย Y (ความตั้งใจซื้อ) = -.178+.294 (แรงจูงใจ) + .238 (ระยะเวลาในการเปิดรับ) +.113 (การใช้ประโยชน์) +.408 (ความพึงพอใจ) ซึ่งสามารถร่วมกันทำนายสมการได้ร้อยละ 76.5 และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .874 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า แรงจูงใจ พฤติกรรมการเปิดรับ การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจ สามารถร่วมทำนายความตั้งใจซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านผ่านช่องทางอี-คอมเมิร์ซ ของสมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร” ได้

Article Details

How to Cite
ยศนันท์ ก. ., & พวงเล็ก ว. . (2022). อิทธิพลของแรงจูงใจ พฤติกรรมการเปิดรับ การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจต่อเฟซบุ๊กแฟนเพจ “ติดโปร” ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ผ่านช่องทางอี-คอมเมิร์ซของสมาชิกแฟนเพจ “ติดโปร”. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 31(2), 92–107. https://doi.org/10.14456/pyuj.2021.20
บท
บทความวิจัย

References

กษิดิศ พันธารีย์. (2563). การเปิดรับสื่อ การใช้ประโยชน์และความพึงพอใจต่อแฟนเพจเฟซบุ๊ก “อยุธยา กินอะไรดี By Wongnai” ที่ส่งผลต่อความตั้งใจใช้บริการร้านอาหาร ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กาญจนา แก้วเทพ. (2556). สื่อสารมวลชน ทฤษฎีและแนวทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

ชาติชาย วิเรขรัตน์. (2552). Facebook ทุกมุม. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฐานทัศน์ ชมพูพล. (2554). การเปิดรับการสาธิตการใช้เครื่องสำอางผ่านสื่อออนไลน์กับการตัดสินใจซื้อเครื่องสำอางของผู้หญิงไทยในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ติดโปร - PRO addict. (2564). เกี่ยวกับแฟนเพจติดโปร, สืบค้นเมื่อ 8 เมษายน 2564. https://www.facebook.com/TidPromo

ธีรภัทร วรรณฤมล. (2559). การสื่อสารการตลาดของเนชั่นทีวี. วารสารการสื่อสารมวลชน, 4(2), 30-48.

บุณยาพร ศรีงิ้วราย. (2558). แรงจูงใจ การเปิดรับ ความพึงพอใจ และความตั้งใจซื้อเครื่องสำอางบำรุงผิว แบรนด์ท้องถิ่นจากการติดตามข่าวสารผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจของผู้บริโภค. การค้นคว้าอิสระ ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรินทร์พิพัชร วัชรพงษ์เกษม. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

สุธีร์ นวกุล. (2554). ใช้ให้เป็น เล่นให้สนุก Facebook (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

Dainton, M., & Zelley, E. D. (2011). Applying communication theory for professional life: A practical introduction (2nd ed.). Singapore: Sage.

Klapper, J. T. (1960). The effects of mass communication. New York: Free Press.

Mcleod, J. M. & O’Keefe, G. J., jr. (1972). The socialization perspective and communication behavior. In F. Gerald Kline and Phillip J. Tichenor (ed.), Sage annual reviews of communication research: Vol. 1. Current perspective in mass communication research, (pp. 121-168). London: Sage.

McLuhan, M. (1964). Understanding media: The extensions of man. New York: McGraw-Hill.

Samuels, F. (1984). Human needs and behavior. Cambridge, MA: Schnenkman.

Walters, C. G. (1978). Consumer behavior: Theory and practice (3rd ed.). Homewood, IL: Irwin.

Zeithaml, V. A., Berry, L. L. and Parasuraman, A. (1990). Delivering quality service: Balancing customer perceptions. New York: Free Press.