พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 กับความมั่นคงของข้อมูลในกิจกรรมการดำเนินงานของธุรกิจโลจิสติกส์
Main Article Content
บทคัดย่อ
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เป็นกฎหมายที่มีความสำคัญสำหรับ การรักษาความมั่นคงของข้อมูลในกิจกรรมการดำเนินงานของธุรกิจโลจิสติกส์ และเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติดังกล่าว บทความวิชาการนี้จึงเปรียบเทียบกฎหมายกับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป (GDPR) ซึ่งเป็นพื้นฐานสำหรับความมั่นคงของข้อมูล ทำให้ธุรกิจโลจิสติกส์ต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการการไหลของข้อมูล ส่วนบุคคลภายในบริษัทและขั้นตอนปฏิบัติต่าง ๆ โดยเฉพาะองค์ความรู้ ความเข้าใจในการบริหารจัดการความมั่นคงของข้อมูลส่วนบุคคลในกิจกรรมการดำเนินงานของธุรกิจโลจิสติกส์เพื่อปฎิบัติ ให้สอดคล้องตามกฎหมาย เพิ่มความเชื่อมั่นให้กับลูกค้าและผู้ที่เกี่ยวข้องโดยมั่นใจได้ว่า ข้อมูลส่วนบุคคลจะถูกจัดการอย่างถูกต้องและปลอดภัย ในทำนองเดียวกัน การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการดำเนินงาน จะช่วยให้บริษัทสามารถสร้างกรอบการดำเนินงานที่มีมาตรฐานสูง สอดคล้องกับมาตรการรักษาความเป็นส่วนตัวของข้อมูลส่วนบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ธุรกิจโลจิสติกส์ดำเนินการสอดคล้องตามกฎหมาย ตอบสนองกับสภาวะตลาดและเติบโตอย่างยั่งยืน ในระยะยาว
Article Details
References
จิตต์ประไพ น้อยนวล. (2565, 1 เมษายน). ทิศทางการมีผลบังคับใช้ของ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://www.law.tu.ac.th/application-of-personal-data-protection-act/
นคร เสรีรักษ์, ณรงค์ ใจหาญ, ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช, ศุภเกียรติ ศุภศักดิ์ศึกษากร และนิชานันท์ นันทศิริศรณ์. (2562). GDPR ฉบับภาษาไทย. Privacy Thailand. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:169013
นภดล นิ่มหนู. (2565). หลักการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล: ศึกษาเปรียบเทียบพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 กับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 41(3), 46-67. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/humsujournal/article/view/254148/174123
ปิยะนุช สัมฤทธิ์, สักรินทร์ อยู่ผ่อง และอัคครัตน์ พูลกระจ่าง (2564). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจขนส่งและการกระจายสินค้าเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 21(1), 7-23. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/spurhs/article/view/240958
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารราชการ พ.ศ. 2540. (2540, 2 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 114 ตอนที่ 46 ก. หน้า 1-16.
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. (2562, 24 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 69 ก. หน้า 52-95.
ภาพรวมของกลไกของ EU ในการถ่ายโอนและการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลในประเทศที่สาม. (2562). CPMU News, 4(4), 5-7. http://brussels.customs.go.th/data_files/093b3db2d6b88141c127fcd50f620c21.pdf
รักไท เทพปัญญา. (2561). ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป. Law for ASEAN. https://lawforasean.krisdika.go.th/File//files/1532045424.a3f14db58e316e4f18bd40f2b572e1b9.pdf
วิริยะ รามสมภพ. (2562). การเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ ศึกษากรณีผลกระทบต่อข้อมูลส่วนบุคคลภายใต้บังคับพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540. สำนักงานคณะกรรมการข่าวสารข้อมูล. http://www.oic.go.th/web2017/iwebform_viewer.asp?i=21111%2E81413705112112151111211
สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล. (2565). คู่มือ PDPA สำหรับผู้ประกอบการ SMEs. ผู้แต่ง. https://www.mdes.go.th/uploads/tinymce/source/สคส/คู่มือ%20PDPA%20สำหรับผู้ประกอบการ%20SMEs.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 พ.ศ. 2566-2570. ผู้แต่ง. https://www.nesdc.go.th/download/Plan13/Doc/Plan13_DraftFinal.pdf
Adeyemo, E (2022). Innovations and solutions in business logistics. Conference proceedings “Young scientist 2022,” 60-64.
https://ejournals.vdu.lt/index.php/jm2022/article/view/3335/2053
Alshurideh, T. M., Alquqa, E. K., Alzoubi, H. M., Kurdi, B. A., & Hamadneh, S. (2023). The effect of information security on e-supply chain in the UAE logistics and distribution industry. Uncertain Supply Chain Management, 11(1), 145-152. http://www.m.growingscience.com/uscm/Vol11/uscm_2022_127.pdf