ลักษณะความหมายเชิงประวัติของคำว่า “กิน” ในนวนิยายไทย

Main Article Content

ปิ่นอนงค์ อำปะละ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่อง ลักษณะความหมายเชิงประวัติของคำว่า “กิน” ในนวนิยายไทย ได้นำการศึกษาความหมายเชิงประวัติมาใช้วิเคราะห์ลักษณะความหมายของคำว่า “กิน” ในนวนิยายไทยระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2447 จนถึงปี พ.ศ. 2562 เพื่อแสดงให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของคำว่า “กิน” ในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
ผลการวิจัยทำให้ทราบถึงลักษณะความหมายของคำว่า “กิน” ในนวนิยายไทยผ่านการใช้ถ้อยคำภาษาที่ปรากฏในนวนิยายไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2447 จนถึงปี พ.ศ. 2562 พบว่า “กิน” ในแต่ละ ปี พ.ศ. แสดงให้เห็นลักษณะการเมือง การปกครอง การรับเอาวัฒนธรรมอื่น ขนบธรรมเนียมประเพณี และค่านิยม ได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการดำรงชีวิต ทั้งนี้ ผลของการเปลี่ยนแปลงของความหมาย ที่เกิดขึ้น ตลอดทั้งการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมไทยในช่วงเวลาดังกล่าว มีผลต่อความหมายของคำว่า “กิน” ที่เปลี่ยนแปลงตามด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ก.สุรางคนางค์. (2547). หญิงคนชั่ว. ณ บ้านวรรณกรรม.

กรมศิลปากร สำนักหอสมุดแห่งชาติ. (2547). ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคำแหง (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรมฯ.

โกลาบ จัน. (2562). ไต้ฝุ่น. แพรว.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2548ก). สี่แผ่นดิน, เล่ม 1. นานมีบุ้คส์.

คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. (2548ข). สี่แผ่นดิน, เล่ม 2. นานมีบุ้คส์.

ครูเหลี่ยม. (2544). ความไม่พยาบาท. ปูชนีย์.

คำพูน บุญทวี. (2519). ลูกอีสาน. บรรณกิจ.

จุฬามณี. (2560). กรงกรรม. แสงดาว.

ชาติ กอบจิตติ. (2525). คำพิพากษา. พี. เอ.ลีฟวิ่ง.

ดุษฎีพร ชำนิโรคศานต์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ และภาษาไทยเชิงเปรียบเทียบ. (เอกสารอัดสำเนา). ม.ป.พ.

นันทนา วงษ์ไทย. (2561). ภาษาและความหมาย. โรงพิมพ์ เค.ซี.อินเตอร์เพรส.

นายแก้วนายขวัญ. (2512). นิทานทองอิน. ม.ป.พ.

บุญเดือน ศรีวรพจน์ (บ.ก.). (2546). จินดามณี ฉบับหมอบรัดเล. กรมศิลปากร.

โบตั๋น. (2543). ผู้หญิงคนนั้นชื่อบุญรอด. สุวีริยาสาส์น.

ประทีป ชุมพล. (2546). เสียงเพรียกจากท้องน้ำ. แพรว.

ปิ่นอนงค์ อำปะละ (2565). ความหมายของคำว่า “กิน”ในภาษาไทย: การศึกษาเชิงประวัติและภาษาศาสตร์ปริชาน. มหาวิทยาลัยพายัพ.

ผาด พาสิกรณ์. (2559). พลิ้วไปในพรายเวลา. แพรว.

พนมเทียน. (2525ข). ละอองดาว, เล่ม 2. คลังวิทยา.

ยุวดี ตันสกุลรุ่งเรือง (2551). รอยวสันต์. ประพันธ์สาส์น.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2544. ราชบัณฑิตยสถาน.

เรียมเอง. (2543). ทุ่งมหาราช. บรรณกิจ 119.

วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์. (2526). ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ: วิวัฒนาการภาษาไทยและภาษาอังกฤษ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศศิวิมล สันติราษฎร์ภักดี. (2547). ฉากชีวิตสี่แผ่นดิน: ชีวิตจริงหลังฉากนิยายของสาวชาววัง ชาวบ้าน และแฟชั่นฝรั่ง. อมรินทร์.

ศรีบูรพา. (2471). คมสวาทบาดจิต. ม.ป.พ.

ศรีบูรพา. (2548). สงครามชีวิต. มติชน.

สีฟ้า. (2517ก). ข้าวนอกนา, เล่ม 1. คลังวิทยา.

เสนีย์ เสาวพงศ์. (2525). ความรักของวัลยา. มิตรนราการพิมพ์.

อากาศดำเกิง รพีพัฒน์, ม.จ. (2546). ละครแห่งชีวิต. แพรว.

Bynon, T. (1997). Historical Linguistics. Cambridge University.

Hock, H. (1991). Principles of historical linguistics. Mouton de Gruyter.

Schendl, H. (2001). Historical linguistics. Oxford University Press.