การวิจัยและพัฒนาเรื่อง ภูมิปัญญาการแสดงลำตับเต่าสู่ศิลปะการแสดงร่วมสมัย

Authors

  • สุริยา บรรพลา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

Keywords:

การพัฒนาศิลปะการแสดงร่วมสมัย, contemporary performance arts

Abstract

วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาภูมิปัญญาที่แฝงอยู่ในองค์ประกอบการแสดงเป็นเรื่อง ลำตับเต่าไทยเลย 2) เพื่อประยุกต์องค์ความรู้เดิมที่เป็นภูมิปัญญาเฉพาะอัตลักษณ์ จากองค์ประกอบแสดงเป็นเรื่องลำตับเต่าไทยเลย ให้เข้ากับยุคสมัย กลุ่มเป้าหมาย เลือกผู้มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับการให้ข้อมูลด้านภูมิปัญญาที่แฝงอยู่ในองค์ประกอบลำตับเต่าไทยเลย ใช้คณะลำตับเต่าบ้านน้าพรซึ่งเป็นคณะที่มีความสมบูรณ์ด้านองค์ประกอบของคณะแสดงที่ยังเหลืออยู่ ใช้วิธีวิจัยและพัฒนาเชิงคุณภาพ โดยการศึกษาข้อมูลเอกสาร การศึกษาภาคสนาม สัมภาษณ์แบบเจาะลึก การสนทนากลุ่ม แบบสังเกต การวิเคราะห์ข้อมูล โดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหาแบบพรรณาวิเคราะห์

ผลการวิจัยครั้งนี้ 1) ผลการศึกษาภูมิปัญญาที่แฝงอยู่ในองค์ประกอบการแสดงเป็นเรื่องลำตับเต่าไทยเลย เป็นภูมิปัญญาที่คิดค้นขึ้นโดยได้รับอิทธิพลจากวิถีการดำรงชีวิต วัฒนธรรมที่เป็นประเพณีของชาวบ้านแฝงไว้ในองค์ประกอบการแสดงลำตับเต่าไทยเลย ในขั้นตอนการแสดงตามเรื่องได้นาความรู้ที่เป็น ภูมิปัญญาแฝงประยุกต์พัฒนาทั้งรักษาอัตลักษณ์ทางภูมิปัญญาที่เป็นองค์ความรู้เดิม ผสมผสานบูรณาการเข้ากับสื่อและเทคนิคสมัยใหม่มากที่สุด 2) ผลการศึกษา การประยุกต์ภูมิปัญญาที่เป็นองค์ความรู้เฉพาะอัตลักษณ์ศิลปะการแสดงพื้นบ้านจากองค์ประกอบการแสดงเป็นเรื่องลำตับเต่าไทยเลยให้เข้ากับยุคสมัย ภูมิปัญญาที่แสดงอัตลักษณ์ท้องถิ่นไทยเลยในองค์ประกอบการแสดงลำตับเต่าที่นามาใช้ประยุกต์เข้ากับการแสดงหมอลาของอีสานและการแสดงละครภาคกลาง ได้แก่ วิธีการ การขึ้นต้นเสียงร้อง ตามแบบแผนเดิมของวิธีการลำตับเต่า คือ การเอื้อนลูกคอและการเปล่งเสียงถ้อยคา แล้วร้องผสมผสานให้เข้ากับทานองเพลงและดนตรีทั้งตะโพน กลอง รวมทั้งเครื่องดนตรีสากล เช่น กลองชุด พิณ กีตาร์ โปงลางเหล่านี้เป็นสื่อสมัยใหม่ เป็นที่นิยมของคนในยุคปัจจุบัน ผสมผสานเข้ากับการแต่งบทละครแบบภาคกลาง ซึ่งนามาผสมผสานได้แก่ ลักษณะการสร้างระบาในแต่ละฉาก

 

Research and Development on the application of the wisdom of “Lam tab Tao” show for contemporary Performance art

The purposes of this research were 1) to study the wisdom hidden in the elements of the show called Lam Tab Tao Loei, and 2) to apply the known specific identity wisdom from the elements of the show called Lam Tab Tao Loei to modern age. The participants of the study were the Lam Tab Tao performers of Nam Porn village who has almost completely remained the elements of the traditional show. The qualitative research was used. The data were collected from the available document, the fieldwork study, the in-depth interview, the focus-group discussion, and the observation forms. The obtained data were analyzed using the content analysis.

The findings were 1) the wisdom hidden in the elements of the show called Lam Tab Tao Tai Loei was derived from the influences of the ways of life and the cultures that was the villagers’ tradition. In performing, the wisdom of the show was applied and integrated to the modern technological devices. The wisdom which was the original knowledge of the show was also reserved. 2) The wisdom expressing the Tai Loei traditional identity in the elements of Lam Tab Tao Tai Loei that was adapted to the Mor Lam the traditional Esarn show, and the dramatic performances in the central region of Thailand was initiation of singing. It was characterized as that of Lam Tab Tao performance, that is drawling sound and expressing words at the beginning of the songs in order to accord with the rhythm and the music generated by both traditional Thai music instruments such as TaPhon or Klong and Western music instruments such as drums, or guitars. These are considered as modern media popular among people in the present age and are integrated with the play composing of central Thai style which contributed to creation of dancing postures for performance scenes.

Downloads