การพัฒนารูปแบบการจัดการชุมชนเพื่อแก้ปัญหาความยากจนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

ผู้แต่ง

  • พรสวรรค์ ศิริกัญจนาภรณ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • พงษ์เทพ บุญเรือง อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
  • พรกมล ระหาญนอก อาจารย์ประจำสาขาวิชายุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาภูมิภาค คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยเลย

คำสำคัญ:

ความยากจน, การจัดการชุมชน, การขับเคลื่อน

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการชุมชนเพื่อแก้ปัญหาความยากจนของมหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จากการดำเนินงานโครงการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากเพื่อยกระดับรายได้ครัวเรือนบ้านบุฮม อำเภอเชียงคาน บ้านหาดเบี้ย อำเภอปากชม จังหวัดเลย และบ้านดอนหญ้านาง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งผลจากการสังเคราะห์ข้อมูลได้รูปแบบการจัดการชุมชนเพื่อแก้ปัญหาความยากจน โดยเริ่มจากการดำเนินงานโครงการตามกรอบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น บนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการบูรณาการพันธกิจสัมพันธ์ ก่อให้เกิดการพัฒนาอาชีพเพื่อยกระดับรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือน ความรักความสามัคคีในชุมชน การมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เป้าหมาย และส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ดี

References

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ และ พิทยา ว่องกุล. (2545). วิสาหกิจชุมชน กลไกเศรษฐกิจฐานราก. กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรส.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง, สุภา ใยเมือง และ บัญชร แก้วส่อง. (2546). การพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อยโอกาส: กลุ่มเกษตรกร. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

วันฉัตร สุวรรณกิตติ. (2562). เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “ความยากจนของไทย” ใน กำหนดการอบรมหัวข้อ“การบูรณาการพันธกิจเชิงพื้นที่เพื่อแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่น” ภายใต้โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ (อาคาร 23) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.

วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2551). การบริหารจัดการตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน. กรุงเทพฯ: ธรรกมลพิมพ์.

สำนักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ. (2562). ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ฉบับปรับปรุง 11 ตุลาคม 2561. กรุงเทพฯ: สำนักงานที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชัฏ.

อุดม ทุมโฆสิต. (2536). ลักษณะและสาเหตุของปัญหาความยากจนของครอบครัวชนบท: กรณีจังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

World Bank. (2001). World Development Report 2000/ 2001: Attacking Poverty. Washington: Oxford University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-02-28