การพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบท
เรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับ
การสอนโดยใช้บทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับกลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ 4) เพื่อหาความพึงพอใจของ
ผู้เรียนที่เรียนด้วย บทเรียนบนเว็บตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ กลุ่มเป้าหมาย เป็น นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านบรบือ
(บรบือราษฎร์ผดุง) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ทั้งหมด 40 คน คัดเลือกกลุ่มทดลองโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random
Sampling) เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ บทเรียนบนเว็บตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดความ
พึงพอใจ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test (Dependent Sample) ผลการวิจัยพบว่า
1. การพัฒนาบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ อยู่ในระดับเหมาะสมมาก
2. ประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ที่ผู้ศึกษาพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
3. คะแนนเฉลี่ยทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบนเว็บตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ โดยรวมอยู่ในระดับมากโดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.50
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Improve Learning. Bangkok : House of Teachers
Printing, Ladprao.
[2] Department of Education. (1999). National Education
Act 1999And Amendment (No. 2). 2002 and The
Ministerial Regulations and the Compulsory
Education Act 2002. Bangkok : Organization of
Transfer Products and Packging
[3] Ministry of Education. (2008). Core Curriculum
Basic Education. Bangkok : The Agricultural
Co-operative Federation of Thailand LTD.
[4] Songkram, Nattakorn.(2000). Design and
Development of Multimedia for Learning.
Bangkok : Chulalongkorn University
[5] Loajaratsaeng, Thanomporn.(2002). Principles of
Web Design and Creation for Teaching ;
Designing e-Learning. Chiang Mai : Chiang Mai
University.
[6] Thienthong, Monchai. (2011). Design and
Development of Computer Lessons. 3rd,
Department of Computer Studies,Faculty of
Industrial Education, King Mongkut’s University
of Technology North Bangkok,Bangkok.
[7] Arreerat, Phisutha. (2008). Educational Software
Development. Maha Sarakham: Rajabhat
Mahasarakham University.
[8] Siripornthum, Aunchanaporn.(2009). Development
of Computer Assisted Instruction on Network ;
Issue of Isarn Our Home, Learning Group of
Social Studies, Religion and Culture (History)
Prathomsuksa 5 students. Master of Education
Administration Thesis : Mahasarakham
University.
[9] Jaengjumrat, Yuthaphong. (2008). Development of
Computer Assisted Instruction on Internet; Issue
of Introduction to Photoshop. Master of Education
Administration Thesis : Rajabhat Mahasarakham
University.
10] Chimchart, Pornsawan.(2007). The Development of
Web Beased Instruction Course in Principle of
Publication Design for Matayom 6 Rajini School.
Master of Education Administration Independent
Study (Educational Technology) Bangkok :
Silpakorn University.
[11] Thipphila, Praphasri. (2009). Development of
Biology Network Lessons; Issue of Genetic Char
acteristics Beyond Mendelian Rules, Mathayom
6. Kasalongkham Research Journal Chiangrai
Rajabhat University
[12] Sayankena, Wasan.(2010). Development of
Multimedia Courseware on Network According
to Constructivism Line; Issue of Information
Creation. Master of Education Administration
Thesis : Rajabhat Mahasarakham University.