แนวทางการส่งเสริม อนุรักษ์และพัฒนาซอบั้งชาวภูไท จังหวัดกาฬสินธุ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัย 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาองค์ความรู้ของซอบั้งชาวผู้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อศึกษา
แนวทางการสง่ เสริม อนุรักษ ์ และพัฒนา ซอบั้งชาวผไู้ ท จังหวัดกาฬสินธ ์ุ โดยการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์
เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ผลการวิจัยพบว่า ด้านลักษณะทางกายภาพพบความแตกต่างกัน 2 รูปแบบ คือ
รูปแบบโบราณคือซอบั้งไม้ไผ่มีสองสายและปรับตั้งเสียงของสายซอให้มีระดับเสียงเดียวกัน โดยสายที่หนึ่งหรือสายเอกทำหน้าที่เป็น
“สายบรรเลงทำนอง” ส่วนสายที่สองหรือสายรองทำหน้าที่เป็น “สายเสียงประสานยืน” (Drone) และรูปแบบทั่วไปคือจะใช้สายหลักสอง
สายปรับตั้งเสียงให้มีระดับเสียงห่างกันเป็นคู่สี่ (4th Perfect) บทเพลงที่พบได้แก่ ลายฟ้อนเกี้ยวหางนกยูง ลายล่องของ ลายลำให้พร
ด้านบทบาทของซอบั้งไม้ไผ่ของชาวภูไทนั้นในอดีตจำแนกได้เป็นสองบทบาท คือ บทบาทของซอบั้งในบริบทเฉพาะกลุ่มบุคคล
และบทบาทของซอบั้งในบริบทเชิงพิธีกรรมแนวทางการส่งเสริม อนุรักษ์และพัฒนาซอบั้งชาวผู้ไท จังหวัดกาฬสินธุ์ คือ 1) ส่งเสริมให้
มีการบรรเลงซอบั้งไม้ไผ่ชาวผู้ไททุกรูปแบบที่ควรจัดให้มีได้ 2) ส่งเสริมให้คนในชุมชนได้เรียนรู้และตระหนักถึงความสำคัญของซอบั้ง
3) จัดศูนย์แสดงเครื่องดนตรีเพื่ออนุรักษ์และให้ความรู้แก่บุคคลทั่วไป 4) อนุรักษ์ผลงานของปราชญ์ศิลปินชาวบ้าน บทเพลงผู้ไท
และอนุรักษ์การละเล่นต่างๆ ที่ใช้ดนตรีประกอบ 5) ปรับปรุงรูปแบบการบรรเลงให้ทันสมัย และผสมผสานวัฒนธรรมดั้งเดิมกับวัฒนธรรม
เพลงสมัยใหม่ 6) การประยุกต์ใช้อุปกรณ์สมัยใหม่ และ 7) พัฒนาเครื่องดนตรีให้เป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Bangkok : Dr. Sax.
[2] Royal Academy. (1983). The Royal Institute
Dictionary. Bangkok : Aksorn Charoen Tasn
Publishers..
[3] Huaboonsan, Kriengkrai. (2014). Phu Tai, The Tai
Tribe of the Sib Song Chu Thai in Thailand. April
14, 2014. Search 15 June 2015 from .http://www.
oknation.net/blog/kriengkrai/2014/04/14/entry-1.
[4] Chaikhan, Suthep. (2013). Phu-thai, Luk-than.
Bangkok : Tathata.
[5] Uttho, Sithad. (2015). As an interviewer, Pittayawat
Pantasri, Be an interviewer, At Ban Nong Sa Pang,
No. 1, Moo 3, Tambon Nong Hang, Kuchinarai
District, Kalasin Province, on May 13, 2015.
[6] Ketthes, Boonyong. (1993). Cultural Human Race.
Ubon Ratchathani : Yongsawat Printing
[7] Phuphasri, Sawai. (2015). As an interviewer,
Pittayawat Pantasri, Be an interviewer, at 140
Moo 1, Tambon Bo-kaew, Nakhu District, Kalasin
Province, on June 6, 2015.
[8] Phuvilert, Boonlert. (2015). As an interviewer
Pittayawat Pantasri, Be an interviewer at 123
Moo 1, Tambon Phu Laen Chang, Nakhu District,
Kalasin Province, on June 6, 2015.
[9] Dulachat, Phuthisak. (2015). As an interviewer,
Pittayawat Pantasri, Be an interviewer, at
Ban Nong Sa Pang , No. 1, Moo 3, Tambon Nong
Hang, Kuchinarai District, Kalasin Province, on
May 13, 2015.
[10] Srisantisuk, Somsak. (2001). A Study Social and
Cultural Studies : Concepts, Methodologies and
Theories. Department of Sociology and Anthropology.
Faculty of Humanities and Social Sciences
Khonkaen University.
[11] Sunyaviwat, Sunya. (1999). Theory of Sociology,
Creation, Valuation and Utilization. 4th edition.
Bangkok : Chulalongkorn University Press.
[12] Suengrum, Wasana. (2009). Phu-Thai Music at Ban
Phon Sawang, Amphoe Khao Wong, Kalasin
Province. Master’s Degree : Mahasarakham
University.
[13] Kaeophengkro, Siriwan. (2008). Indigenous
Knowledge for Adherence and Development of
Music Performance Styles of Phu-thai People in
Changwat Kalasin. Master’s Degree : Mahasara
kham University.
[14] Sunthornphasus, Suthep. (2512). Guidance for
Studying in Anthropology. Bangkok : Thai-US
Military Research and Development Center.
[15] Suthip, Phra Maha Chanyut. (2009). Adherence to
Customs and Treditions of Phu-thai People for in
Chang wat Kalasin. Master’s Degree : Mahasara
kham University.
[16] Amatayakul, Poonpit. (1988). “Ideas for Thai
Music Higher Education”, in Thai Music Higher
Education, 20th. Page 108-111. Nakhon Nayok :
Chulachomklao Royal Military Academy -
Chulalongkorn University.
[17] Chaijitrsakul, Pimporn. (2002). Thai Music Cultural
Perpetuation : A Case Study of Amphawa
community in Samutsongkham Province. Master
Thesis, Bangkok: Ramkhamhaeng University.
[18] Kulatan, Wichien. (1957). “General Knowledge in
Thai Music”, in Educational Supervision
Document No. 29. Page 4-13. Bangkok: The
supervisory unit. Department of Teacher Training
Ministry of Education.
[19] Ministry of Culture. (2005). Ministry of Culture.
2005. Bangkok : kodchakorn Publishers.