ความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคลเทศบาลเมืองมหาสารคามอำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

Main Article Content

พฤษพงษ์ ฤทธิโคตร1
เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร2
ยุภาพร ยุภาศ3

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาล
เมืองมหาสารคาม อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลัก
ในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม จำแนกตาม เพศ วุฒิการศึกษา และ
ประเภทตำแหน่ง เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาล
เมืองมหาสารคาม อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานเทศบาลเมืองมหาสารคาม จังหวัด
มหาสารคาม จำนวน 187 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนแบบประมาณค่า ซึ่งมีค่าความเชื่อ
มั่นเท่ากับ 0.73 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ การวิเคราะห์เนื้อหา
โดยการบรรยายวิเคราะห์สรุปเนื้อหา และแจกแจงความถี่ส่วนสถิติที่ใช้ในการเปรียบเทียบใช้ F-test (One Way ANOVA) กำหนด
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 หากพบว่ามีความแตกต่างจะวิเคราะห์ความแตกต่างรายคู่ โดยวิธี แอลเอส ดี (LSD : Least Significant
Different) ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง
มหาสารคามจังหวัดมหาสารคามโดยรวมอยู่ในระดับสูงเมื่อจำแนกเป็นด้านพบว่าอยู่ในระดับสูง 5 ด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ย
จากมากไปน้อยคือ การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม การทำงานเป็นทีมการบริการเป็นเลิศการมุ่งผลสัมฤทธิ์และความเข้าใจใน
องค์กรและระบบงาน
2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอ
เมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม จำแนกตาม เพศ วุฒิการศึกษา และประเภทตำแหน่งแตกต่างกัน
3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับความคิดเห็นของพนักงานเทศบาลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานบุคคล เทศบาลเมืองมหาสารคาม
อำเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม พบว่า พนักงานเทศบาลมีข้อเสนอแนะดังนี้ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์คือ ควรกำหนดเป้าหมาย
ในการทำงานที่ชัดเจน เพื่อการวางมาตรฐานในการทำงานที่สูงไว้ในการปฏิบัติงาน และควรมอบหมายงานเพื่อกระตุ้นความสามารถให้
พนักงานได้นำออกมาใช้ได้ด้านการยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม คือ ควรสร้างค่านิยมในการอุทิศเวลาให้กับการปฏิบัติงานด้าน
ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน คือ ควรมีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง โดยให้ทุนการศึกษาบุคลากรในการศึกษาต่อ
รวมถึงควรพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทำงานในภาวะปัจจุบันในทันเทคโนโลยีด้านการบริการเป็นเลิศ คือ ควรให้ความสำคัญใน
การบริการ โดยการสรา้ งความประทับใจในการใหบ้ ริการโดยการสรา้ งรอยยิ้มในการบริการ และสรา้ งคา่ นิยมในการทำงานเพื่อประชาชนด้านการทำงานเป็นทีม คือ ควรส่งเสริมการสร้างทีมงานในองค์กร

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Juiyto, Sane. (2005). “Human Resource
Development to Competency - Base
Development,” Modern Management. 3(1) : 33:
January - February.
[2] Committee on Standards of Local Government
Administration. Announcement of the Committee
on Standardization of Local People’s
Administration on Standardization of Local Ad
ministration. (2015). Government Gazette. 132(13)
D.page 15-18. 13 February.
[3] Kenaphoom, Sanya. (2013). “The Creating of the
Survey Research Conceptual Framework on
Public Administration,” Valaya Alongkorn
Review.3 (2) ; July-December 2013 page 169-185.
[4] Kenaphoom, Sanya. (2014B) . “Establish the Research
Conceptual Framework in Public Administration
by the Rational Conceptual thinking”. Phetchabun
Rajabhat Journal, 16 (1): January-June 2014 : 1-19.
[5] Kenaphoom, Sanya. (2015). “The Research
Conceptual Framework Establishment by the
Grounded Theory” VRU Research and
Development Journal.10 (3) (September-
December, 2015)
[6] Kenaphoom, Sanya. (2014C). “A Creation of a
Research Conceptual Framework for Public
Administration by Knowledge Management
Methodology” Journal of Humanities and Social
Sciences, Ubon Ratchathani University, 5 (2),13-32.
[7] Kenaphoom, Sanya. (2014D). “The creating of
Quantitative Research Conceptual Framework of
Public Administration by Literature Review”.
Udonthani Rajabhat University Journal of
Humanities and Social Science. 3 (1) : January-
June 2014.
[8] Kenaphoom, Sanya. (2014A) . “Research Philosophy:
Quantity Quality” Journal of Political Science and
Law, Rajabhat Kalasin University, 3 (2) ,49-51.
[8] Kenaphoom, Sanya. (2014E). “The Writing Format
of Research Conceptual Framework on
Management,” Rajabhat Mahasarakham
University Journal (Humanities and Social
Sciences). 8 (3) : September-December : 33-42
[9] Yamane,Taro. (1973). Statistics : an Introductory
Analysis. New York ; Harper and Row.
[10] Eakkawat, Benyapa and Chalermwat, Pitsanu.
(2012). “A Study of Factors Affecting Work
Performance Competency of Personnel in Sub
district Administrative Organizations in Prachuap
Khiri Khan Province,” Silpakorn Educational
Research Journal). 5(1) ; January - June.
[11] Chookonthong, Phinyada. (2013). “Development of
Core Competency of Subdistrict Employees to
Enhance Public Service Capacity of Sub-district
Administrative Organizations in Phetchaburi
Province,” Veridian E-Journal. 7 (1) : January-April
2014.
[12] Ratsameethammachod, Sukalya. (2003).
“Competency Management Tools are Undeniable,”
HumanResource. 53(8) : 15: ,March - April.
[12] Apichato (Leethaharn), Phramahasakchai. (2013).
Relationship between Managerial Leadership and
Core Competencies of Bangsrimueang Municipality,
Bangsrimueang District, Nonthaburee. Master of
Budhhist Thesis (Buddhist Religion) Mahachul
alongkornrajavidyalaya University.
[13] Saengthong, Narongwit. (2004). PracticalModern
Human Resource Management.3rd Ed. Bangkok :
HR Center.
[14] Office of the Civil Service Commission. (2009).
Competency Determination Manual in Civil
Service : Core Competency Guide. Bangkok :
Office of the Civil Service Commission.
[15] Johnson, L.R. (2003). “Performance Evaluation of
Special Education Administrators : Considerations
and Recommendations,” NASPP Bulletin. 82(9) :
24-32 ; July.