The Effects of Genre-based Approach on Teaching Sales Promotion Letter Writing

Main Article Content

Napasnan Laksorn
Pimyupa W. Praphan
Intisarn Chaiyasuk

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดประสิทธิภาพของการสอนตามแนวคิดแบบอรรถฐาน ในการเขียนจดหมายส่งเสริมการ ขายของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการบัญชี และเพื่อศึกษาเจตคติของผู้เรียนที่มีต่อการสอนเขียนจดหมายส่งเสริมการขาย โดยใช้รูปแบบดังกล่าว โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาบัญชี จำนวน 20 คน จาก 103 คน ที่ลง ทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ณ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดทางภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ซึ่งได้มาโดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการสอนเขียนจดหมายส่งเสริมการขาย ตามแนวคิดการสอนแบบอรรถฐาน จำนวน 3 บท แบบทดสอบวัดความเข้าใจด้านการเขียนจดหมายส่งเสริม การขาย แบบทดสอบ วัดความสามารถด้านการเขียนจดหมายส่งเสริมการขาย แบบประเมิน และเกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการเขียนจดหมายส่ง เสริมการขาย แบบวัดเจตคติที่มีต่อการเรียน เขียนจดหมายส่งเสริมการขายตามแนวคิดการสอนแบบอรรถฐาน และแบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนน ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ของคะแนนโดยใช้สถิติ T-test แบบ Paired samples t-test ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้ความสามารถด้านการเขียนจดหมายส่งเสริม การขายของผู้เรียนหลังได้รับการสอนแบบอรรถฐานครั้งที่ 1 อยู่ในระดับปานกลาง ครั้งที่ 2 อยู่ในระดับปานกลาง และครั้งที่ 3 อยู่ ในระดับมาก ความสามารถด้านการเขียนจดหมายส่งเสริมการขายเป็นกลุ่ม ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง มีความแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 ความเข้าใจของผู้เรียนในการเขียนจดหมายส่งเสริมการขาย ก่อนการทดลองและหลังการ ทดลอง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผู้สอนมีพฤติกรรมในการสอนโดยรวมอยู่ในระดับดีมาก ผู้เรียนมี เจตคติที่ดีต่อการสอนเขียนจดหมายส่งเสริมการขายตามแนวคิดการสอนแบบอรรถฐาน

คำสำคัญ : Teaching Genre-specific Writing, Business English, Genre-based Approach

 

ABSTRACT

This thesis aims to study the beliefs in superstition and the creation of superstitious conditioning from nine of Kingchat’s novels. The findings were found in three aspects: 1) the belief in superstition regarding to life after death which presents in relation to spirit as the existence. Human beings and spirit can communicate monition and dreaming leads to presentation of the belief about bad omen or prediction of what will happen. with each other through physically appearing of spirit itself. Those with the sixth sense are able to communicate with spirit and this is done by haunting in human body, 2) the belief in superstition regarding to preThe belief of dreaming is the telling of what used to happen in the past and the dream occurred due to the person who had power of supernatural creation, and 3) the belief in superstition regarding mental power which presents about hidden power in human mind such as applying mental power to move things and using mental power to enlighten the occurrence or prediction.

The creation of superstitious conditioning in Kingchat’s novels has been found in four styles of opening technique: opening story by setting description, incident description, character’s behavior description and character’s personality description. The character’s behavior description has been found the most including the creation of conflict between humans and humans in the aspects of affection and jealousy. The stories are closed by happy-ending emphasizing on main character’s occupation and love success. In the aspect of theme, it has been comprised of love, family and society as the main theme presented. In the aspect of characters, it is presented by both human and inhuman which is different from normal human behavior. In the aspect of setting and atmosphere consisted of three categories: the setting and atmosphere emphasizing on the unusual climate condition, emphasizing on sense perception, the setting and atmosphere occur from the author’s beliefs and imagination. In the aspect of colloquial expression, it has been kept implementing dialogue that leads the readers to perceive character’s behavior and personality or variety of incidents occurred. These make the readers enjoy as if they were taking part in the incidents themselves.

Keywords : The Creation of Superstitious Conditioning, the Beliefs in Superstition

Article Details

บท
บทความวิจัย