การเรียนการสอนแบบ E-Learning กับการใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality) เป็นสื่อรูปแบบใหม่ทางด้านการศึกษา

Main Article Content

ปดิวรัดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา
ฐิตวีร์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา

บทคัดย่อ

การเรียนการสอน E-Learning คือ นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนที่เป็นอยู่แบบเดิมเป็นการเรียนที่ใช้สื่อเทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเตอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซ์ทราเน็ต และดาวเทียม ดังนั้นจึงหมายรวมถึงการเรียนทางไกล การเรียนผ่านเว็บไซต์ ห้องเรียนเสมือนจริง ซึ่งมีจุดเชื่อมโยง คือ เทคโนโลยีการสื่อสารเป็นสื่อกลางการเรียนรู้


การเรียนการสอนสมัยใหม่นั้นสื่อการเรียนการสอนจำเป็นและสำคัญเป็นอย่างมาก การใช้สื่อที่ทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนนั้นเป็นการเรียนเชิงรุก (Active Learning) เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการสอนรูปแบบหนึ่ง โดยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality: AR) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนและสร้างเสริมประสบการณ์ของผู้เรียน เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมทำให้ผู้สอนสามารถมีวิธีการสอนแบบใหม่ ๆ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). การเรียนรู้แบบออนไลน์. โครงการหนึ่งอำเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช. (2554). จากตามนุษย์สู่สมองคอมพิวเตอร์. คอลัมน์ iTech360° นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา. ประจำเดือนธันวาคม.
ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช. (2555). จากโลกแห่ง Augmented Reality สู่โลกแห่ง E-Commerce. คอลัมน์ Marketing นิตยสารอีคอมเมิร์ซ (e-commerce). 165, กันยายน.
ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช. (22 มกราคม 2557). เมื่อจบยุคสารสนเทศอะไรจะมาต่อ. คอลัมน์รอบรู้ไอที รอบโลกเทคโนโลยี หนังสือพิมพ์เดลินิวส์.
สุขิตา บุญร่วม และ ดวงกมล โพธินาค (2558). การนำเทคโนโลยีสื่อเสมือนจริง มาใช้ประกอบสื่อการเรียนรู้บนเทคโนโลยีการประมวลผลแบบก้อนเมฆ. วารสารชุมชนวิจัย. 9(2), 38 - 44.
ภานุมาศ หมอสินธ์, ละอองดาว ทองดี, อรรถพล หล้าสมบูรณ์ และคำพันธ์ อัครเนตร. (2559). การสร้างสื่อการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ทฤษฏีสร้างสรรค์นิยมในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิชาการสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค. 2(2), 161 - 171.
สุดาว เลิศวิสุทธิไพบูลย์, (2557). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนระบบ e-learning. จุลสารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพออนไลน์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 4.
สุกัญญา แช่มช้อย, (2555). แนวคิดเชิงนวัตกรรมสำหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 14(2), พฤษภาคม – สิหาคม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุทธิพงษ์ พงษ์วร. (2556). E-learning สู่ M - Learning นวัตกรรมการเรียนการสอนแบบไร้สาย. นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ สวทช. 41(181), มีนาคม – เมษายน.
วิทวัส ดวงรามเมศ และวารีรัตน์ แก้วอุไร. (2560). การจัดการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ด้วยการเรียนรู้อย่างกระตือรือร้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(2), กรกฎาคม – ธันวาคม.
สุนันท์ สุนันท์ สีทาย และไพทูรย์ สินลารัตน์. (2561). เปลี่ยนผ่านการศึกษาไทย สู่การศึกษา 4.0. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 24(2), ธันวาคม.
อนุชา สะเลม. (2540). การประยุกต์ใช้ E-Learning ในกระบวนการเรียนการสอนวิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจมีนบุรี กรุงเทพฯ. สารนิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
อนิรุทธ์ สติมั่น, ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2561). การพัฒนาชุดบทเรียนออนไลน์ เรื่อง วิธีการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงสำหรับผู้สอนในสถาบันการศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10(1), 91-105.
Cheok, A. D. (2013). Making a Huggable Internet over, on IEEE Spectrum.
Edith, A. (2001). Piaget’s Constructivism, Papert’s Constructionism : What’s the difference?. Conference Proceedings, Geneva. 1(2).
I.E. Sutherland. (1968). A head-mounted three dimensional display. in Proceedings of the December. 9 - 11.
Joyoe, BR, and Weil, M. 2000 Model of teaching 6th ed. Massachusetts: Allyn of Bacon.
Kalarat, K. (2015). Applying relief mapping on augmented reality. In 2015 12th International Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE). (pp. 315 – 318).
Kandell, Jonathan, J. (1998). Internet addition on Campus: The Vulnerability of College Student, Cyber Psychology and Behavior. 1(1).
Kent, W and Ian, F. (2008). Digi Marketing: The Essential Guide to New Media and Digital Marketing. John Wiley & Sons (Asia). Pte., Ltd.
Martin, R.E. Sexton, C.M, 4 Getlovich J.A. (2002) Teaching Science for all children: methods for constructing understanding. Borton, M.A: Allyn of Bacon.
Meyers C., Jones, T.B. (1993). Promoting Active Learning. Strategic for the Collage Classroom. San Francisco, CA: Jossey Bass.
Mcluhan, M. (1964) Understanding Media : The Extensions of Man (Inc. ed.). New York : McGraw-Hill.
Noddings, H. (1990) Constructivism in Mathematics Education. Journal for Research in Mathematics Education. Issue 4 Reston




















Ranasinghe, N., Karunanayaka, K., Cheok, A. D., Fernando, O. N. N., Nii, H., & Ponnampalam, G. (2011). Digital taste & smell for remote multisensory interactions, 6th International Conference on Body Area Networks. (pp. 128-129).
Vongsripeng, S., & Utakrit, N. (2012). Applies augmented reality techniques to use to teach Thai alphabet. The Eighth National Conference on Computing and Information Technology. Bangkok: King Mongkut's University of Technology North Bangkok.
Vygotsky, L. S. (1962). Thought and Language. Cambridge, MA: MIT Press.