การปฏิรูปการเรียนรู้เชิงพื้นที่โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็ก

Main Article Content

ไพรวัลย์ ผลชู

บทคัดย่อ

ทุกภาคส่วนของสังคมเห็นตรงกันว่าการศึกษาเป็นองค์ประกอบแรกที่มีความสำคัญอย่างมากในการสร้างคนไทยให้มีคุณภาพเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติให้มีความก้าวหน้าต่อไปในอนาคตซึ่งต้องส่งเสริมให้ผู้มีส่วนร่วมทางการศึกษา ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ภาคท้องถิ่น และภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมเข้ามามีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการจัดการศึกษา มีส่วนร่วมส่งเสริม สนับสนุนลงทุนด้านการศึกษาและให้ความสำคัญกับการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้นปัจจุบันการศึกษาไทยกำลังเผชิญหน้ากับความล้มเหลวของระบบราชการ ทั้งโครงสร้างและวัฒนธรรมที่ไม่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ทำให้ไม่อาจพัฒนาคุณภาพของการศึกษาและผู้เรียนตามที่สังคมคาดหวังได้ประกอบกับมีความเหลื่อมล้ำทั้งด้านคุณภาพและโอกาส จึงไม่สามารถขับเคลื่อนไปสู่การปฏิรูปเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางบวกได้ จากสภาพปัญหาและความสำคัญดังกล่าวการปฏิรูปการศึกษาเชิงพื้นที่ จึงเป็นยุทธศาสตร์สำคัญควบคู่การกระจายอำนาจและสร้างความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมในการพัฒนา เป็นการจัดการเชิงพื้นที่ในระดับจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด รวมถึงการให้อิสระสถานศึกษาและการเพิ่มบทบาทท้องถิ่นในการเข้าจัดหรือสนับสนุนการศึกษาในท้องถิ่นนั้นให้มีคุณภาพต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

[1] ประเวศ วะสี. (2544). ยุทธศาสตร์ทางปัญญาและการปฏิรูป
การศึกษาที่พาประเทศพ้นวิกฤติ. กรุงเทพฯ : สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
[2] ชูชาติ แปลงล้วน.(2551). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น
ฐาน : กรณีศึกษาโรงเรียนในโครงการปฏิรูปการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา เชียงรายเขต 4. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) เชียงราย : สถาบันราชภัฏเชียงราย.
[3] สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2557).สภาวการณ์
การศึกษาไทยในเวทีโลก. กรุงเทพฯ : พริกหวาน
กราฟฟิค.
[4] สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). วารสาร
ประชาคมวิจัย. ฉบับที่ 124 ปีที่ 21 เดือน
พฤศจิกายน - ธันวาคม 2558.
[5] สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.(2543).
การปฏิรูปการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ :
คุรุสภาลาดพร้าว.
[6] คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู้. (2544). การปฏิรูป
การเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ : อัดสำเนา.
[7] รัฐมนตรีช่วยกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). ทิศทางการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาภายใต้ยุทธศาสตร์การจัด
การศึกษาเชิงพื้นที่. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2559,
จากhttp://www.trf.or.th.
[8] ชัยพร ทองประเสริฐ. (2555). โครงการจังหวัดปฏิรูป
การเรียนรู้เชิงพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ.สืบค้น
เมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
https://www.gotoknow.org/posts/590951.
[9] คมสัน เอกชัย. (2555). การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
โดยใช้จังหวัดชลบุรีเป็นฐาน. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์
2559, จาก http://www.whychannel.org.
[10] มานพ ษมาวิมล. (2555). การปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้พื้นที่
เป็นฐานของจังหวัดสุโขทัย.สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์
2559, จาก http://www.thaihealth.or.th/.
[11] จำลอง คำบุญชู. (2555). ความเหลื่อมล้ำคุณภาพ
สถานศึกษา. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.thaihealth.or.th/.
[12] กรรณิกา สุภาภา. (2556). การขับเคลื่อนโครงการปฏิรูป
การเรียนรู้เชิงพื้นที่จังหวัดตราด. สืบค้นเมื่อ
18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://thainews.prd.go.th/.
[13] สะอาด ทั่นเส้ง. (2555). โครงการจังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้
เชิงพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี. สืบค้นเมื่อ
18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www2.eduzones.com.
[14] บุญเลิศบูรณุปกรณ์. (2555). การขับเคลื่อนโครงการ
จังหวัดปฏิรูปจังหวัดเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ
18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.chiangmainews.co.th.
[15] ไพบูลย์ อุปัติศฤงค์. (2555). ส่งเสริมและสนับสนุนงาน
การทำงานงานด้านการศึกษา. สืบค้นเมื่อ
18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.qlf.or.th/.
[16] ปภากรพิทยชวาล. (2555). โครงการการจัดการศึกษาเชิง
พื้นที่จังหวัดนครราชสีมา. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์
2559, จาก http://www.moe.go.th.
[17] ไกรสร ศรีไตรรัตน์. (2555). การพัฒนาการเรียนรู้จังหวัด
ยะลา. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.qlf.or.th/.
[18] เดชรัฐสิมศิริ. (2555). รวมพลังคนยะลาพัฒนาสู่อาเซียน.
สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.qlf.or.th/.
[19] ทนงศักดิ์ ทวีทอง. (2555). โครงการปฏิรูปการศึกษาของ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี. สืบค้นเมื่อ 18
กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://www.qlf.or.th/.
[20] ทองสุข รวยสูงเนิน. (2556). การปฏิรูปการเรียนรู้จังหวัด
สุรินทร์. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.tnnthailand.com/.
[21] วิวัฒน์ เพชรศรี. (2554). โครงการปฏิรูปการศึกษาของ
จังหวัดจันทบุรี. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559,
จาก http://www.tnnthailand.com/.
[22] สมเพชร สิทธิชัย. (2555). การปฏิรูปการเรียนรู้จังหวัด
น่าน. สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ 2559, จาก
http://www.qlf.or.th/.