รูปแบบการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านสระแก้วตำบลสระแก้ว อำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น

Main Article Content

แพรววิภา รัตนศรี
สันติสิทธิ์ เขียวเขิน
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ โดยใช้กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมเพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนากิจกรรมส่ง
เสริมสุขภาพของผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านสระแก้ว ตำบลสระแก้ว อำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่ ผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนา ประกอบด้วย ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกเทศบาลตำบลสระแก้ว อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ
หมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้สูงอายุ และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั้งสิ้น 22 คน และกลุ่มผู้สูงอายุ 77 คน ทำการคัดเลือกแบบ
เจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการพัฒนาครั้งนี้ มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การค้นหาปัญหาสาเหตุและการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพผู้สูง
อายุ 2) การจัดทำแผน 3) ปฏิบัติตามแผน 4) นิเทศติดตามสรุปผลการดำเนินงาน กระบวนการดังกล่าวส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจถึง
สถานการณแ์ ละสภาพปญั หาของการดแู ลผ้สู ูงอายุในพืน้ ที่ และรว่ มกนั กาํ หนดแผนงาน/โครงการเพือ่ พฒั นาระบบดูแลผ้สู งู อายใุ นพืน้ ที่
นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ผู้นำชุมชน ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุ และเกิดกิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
ในชุมชน 3 กิจกรรม กระบวนการดังกล่าวส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพและได้รับกำลังใจจากชุมชนอย่างต่อเนื่อง ผลลัพธ์ของ
ระบบที่เกิดขึ้นส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการพัฒนากิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับมาก (Mean=2.95, SD.=0.18)
โดยสรุป การใช้กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมเป็นแนวทางที่เหมาะสม คือ การเปิดโอกาสให้ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ทุกระดับเข้า
มามีบทบาทร่วมรับผิดชอบและร่วมดำเนินการ โดยมีกลไกการปลูกฝังให้ประชาชนในพื้นที่เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมใน
กิจกรรมและมีความรู้สึกเป็นเจ้าของและพร้อมที่จะแก้ปัญหาร่วมกัน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Foundation of thai gerontology research and
development institute (tgri). (2014). Thai Elderly
Situation Report, BE 2014. Bangkok : Foundation
of thai gerontology research and development
institute (tgri).
[2] Khonkaen Provincial Health Office. (2015). [Online].
Elderly people Report. [Retrieved October 19, 2015.].
From: http://kkhdc.moph.go.th/hdc/main/index_.
php
[3] Sa Kaeo Health Promoting Hospital. (2015). Health
Center Database JHCIS. Khon Kaen : Sa Kaeo
Health Promoting Hospital Pueai Noi District Khon
Kaen.
[4] Wandee Suttinarakon. (2013). Action Research :
Research for Liberty and Creativity. Bangkok :
Siamview.
[5] Lhuan Saiyos & Angkana Saiyos. (1996). Learning
Measurement Techniques. Bangkok : Chomromdek
Publishing House
[6] Vichot Papiwdee. (2013). Development of promotion
model Elderly Health by Elderly People Network
In Ban Nong Suea community, Srisuk district,
Samrong Thap district. Surin Province. Thesis
M.P.H. Mahasarakrm university
[7] Bualang Chiadee. (2012). Development of health
promotion activities of the elderly club members
through community participation in Takai district,
Sung Noen district, Nakhon Ratchasima province.
M.P.H. Nakhon Ratchasima Rajabhat University.
[8] Yaowalai Wongprapararat, Nimnoun Thananachai,
Hirun Supasanapiwat, Wongpraparat Sukontajit,
Boonyong fruit Gead, Boonyu Boonyakan Virachai
Boonyu and Vierachai Chaippuag. (2013). Health
Promotion Model for the Elderly by the Participatory
Process of Sansai Luang Village, Sansai District,
Chiang Mai Province. Chiang Mai : Chiang Mai
Rajabhat University.
[9] Chayanit Keawsod. (2010). Development of care model
Long-term health of the elderly with the integration
of participation. Khon Kaen : Health Center 6, Khon
Kaen
[10] Paiboon Pong Saengpan and Yuvadee Rodchagpai.
(2014). Community participation in elderly health
promotion in eastern Thailand. Journal of Public
Health, Burapha University, 9(2), 13-20.