การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง สถิติเบื้องต้นสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Main Article Content

จิระนัน เสนาจักร์
พิชญ์ทิพา สุวรรณศรี

บทคัดย่อ

การวจิ ัยครั้งนี้มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อ 1) เพื่อพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน เรื่อง สถติ ิเบื้องตน้ ทีมี่ประสทิ ธภิ าพ
ตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สถิติเบื้องต้น ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหา
เป็นฐานระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
เรื่อง สถิติเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่
กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามที่ลงทะเบียนเรียนวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์
เพื่อการตัดสินใจ จำนวน 45 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง สถิติเบื้องต้น จำนวน 5 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
สถิติเบื้องต้น ซึ่งเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐาน
ใช้ t - test ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง สถิติเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม มีประสิทธิภาพเท่ากับ 88.55/84.00
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง สถิติเบื้องต้น สำหรับ
นักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง สถิติเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Ministry of Education. (2008). Core Curriculum
Studies Basic Curriculum 2551. Bangkok :
Agricultural Cooperatives of Thailand.
[2] WanneeThamchoti. (2007). Principles of Mathematics.
Songkhla : Faculty of Science and Technology.
Songkhla Rajabhat University.
[3] Duanghathai Katwibun. (2007). “Education Research
of Problem - Based Learning. Education Research.
6(1),14 - 21 ; January.
[4] Laddawan Chamnanchan. (2011). Comparisons of
Learning Achievement, Problem-Solving Thinking
Skill, and Basic Science Process Skills of
Prathomsuksa Five Students Who Learning Using
7E Inquiry Activities and Problem-based Learning
Activities. Master of Education Thesis. Mahasarakham
: Mahasarakham University.
[5] NirardJuntrajit. (2010). Leaning of Thinking.
Mahasarakham : Mahasarakham University.
[6] Supaporn Suriyasukprasert. (2017). Instructional
Model by Research-based Learning to Develop
Mathematics Learning for Mattayomsueksa Three
Students. Doctor ofEducation Thesis. Ubonratcha
thani : Ubon Ratchathani Rajabhat University.
[7] Chansin, Wannika. (2007). Outcomes of Mathematics
Learning Entitled Opinion Survey of Mattayom
sueksa 5 Students Attending Phom Charoen Wit
thaya school by using research- based learning.
Master of Education Thesis. Mahasarakham :
Mahasarakham University.
[8] Alderman, M. Kay. (2008). Motivation For
Achievement : Possibilities for Teaching and
Learning. 3rd ed. Ney York : Routledge.
[9] Sasinan Butthichak. (2010). Development of
Mathematical Instructional Packages using
Problem-Based Learning on the Equation
Solving for Prathom Suksa 6. Master of Education
Thesis. Sakonnakon : Sakon Nakon Rajabhat
University.
[10] Pareeya Pak-In. (2010). The comparison of
Learning Outcomes of “Equation and Solving
Equation” Topic, Mathematics Learning Subutance
Group for Prathomsuksa 6 Students between
Using Problem-Based Learning Activity and
Teacher Manual Learning. Master of Education
Thesis. Bangkok : Thepsatri Rajabhat University.
[11] Henson, Kenneth T. (1996). Methods and
Strategies For Teaching in Secondary and Middle
Schools. 3rd ed. New York : Longman Publishers.