การพัฒนาแนวทางการฝึกอบรมหลักสูตรการจัดทำบัญชีครัวเรือนของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงพ่อจันทร์ที ประทุมภา บ้านโนนรัง ตำบลตลาดไทร อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

สุกฤตา บุรินทร์วัฒนา

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้การฝึกอบรมหลักสูตรย่อยการทำบัญชีครัวเรือนของศูนย์
เรียนรู้พ่อจันทร์ที ประทุมภากลุ่มเป้าหมายคือ นักวิจัย วิทยากรบัญชีครัวเรือน และผู้เข้ารับการอบรมที่เป็นเกษตรกร คัดเลือกแบบ
เฉพาะเจาะจงจาํ นวน 40 คน เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั คอื แบบสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ วทิ ยากรบญั ชคี รวั เรอื น แบบบนั ทกึ การสนทนากลมุ่ และ
แบบสอบถาม โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของแผนโครงการ
การสังเกต การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม และนำมาวิเคราะห์ ข้อมูลสรุปอุปนัยและวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ด้านความคาดหวังในการอบรมบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่มีความหวังว่าจะได้มีความรู้คิดเป็นร้อยละ 52.50 รอง
ลงมาคือจะได้นำความรู้กลับไปทำที่บ้านคิดเป็นร้อยละ 30.00และจะนำความรู้กลับไปสอนลูกหลานคิดเป็นร้อยละ 17.50 ระดับความ
พึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เข้าอบรมการทำบัญชีครัวเรือนเปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรมพบว่า มีแนวโน้มความเปลี่ยนแปลง
ในระดับความเห็นเป็นกลุ่มที่มีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นทั้งหมดมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91 สำหรับการนำไปสู่การมีชีวิตที่เป็นสุขตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมีความเห็นส่วนใหญ่ว่าทำให้รู้รายรับ-รายจ่ายจะได้ประหยัด ร้อยละ 60.00 รองลงมาคือ ทำให้มีข้อมูลช่วยให้มีความ
พอเพียง ร้อยละ 27.50ผลการวิเคราะห์ตามการประเมินแบบซิปป์พบว่า ด้านบริบทมีการปรับวัตถุประสงค์โดยเป็นการสร้างความรู้ ความ
เข้าใจและสร้างแรงบันดาลใจในการแสวงหาวิธีการบันทึกบัญชีครัวเรือนจากการให้บุคลากรที่เป็นเยาวชนในครอบครัวเป็นผู้บันทึก ด้าน
ปัจจัยนำเข้าเลือกดำเนินการที่เน้นด้านสื่อการเรียนรู้เป็นกรณีศึกษา สำหรับแบ่งกลุ่มฝึกทักษะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำบัญชีครัวเรือน
และแนวทางการใช้ประโยชน์จริงในครัวเรือน ด้านกระบวนการ จัดระบบการกำหนดเนื้อหาการเรียนรู้โดยเพิ่มเวลาอีก 30 นาที เพื่อใช้
ในกิจกรรมการเรียนรู้ตามสภาพจริงเป็นกลุ่มในการฝึกทักษะการทำบัญชีครัวเรือนและการนำเสนอแนวทางการทำให้มีการทำบัญชีครัว
เรือนในการดำรงชีวิตจริงของครัวเรือน และดา้ นผลผลิตดำเนินการเนน้ ใหผ้ รูั้บการอบรมมีความตอ้ งการที่จะนำความรแู้ ละแนวทางการ
ทำให้มีการทำบัญชีครัวเรือนไปใช้ประโยชน์โดยไม่ต้องกังวลว่าจะต้องนำไปบันทึกด้วยตนเองเท่านั้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Office of the National Economics and Social
Development Board. (2012). National Economics
and Social Development plan No, 12 (2017-2021).
Search 14 January 2018 from http://www.nesdb.
go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=
develop_issue
[2] Manasutt, Kritsamphan. (2017). Guidelines for
applying the philosophy of sufficiency economy
for sustainable development. (Online). Available:
https://www.matichon.co.th/columnists/
news_588848
[3] Ongklang, Ailadda and Others. (2017). The Study on
Knowledge and Understanding in Household
Accounting According to Sufficiency Economy
Philosophy : A Case Study of Baan Kampee,
Borabue District, MahaSarakram Province.
Rajabhat Mahasarakham University Journal,
11(2):May-August : 385-391.
[4] Arree, Bussaba. (2014). Households Accounting of
Sufficiency Economy in Globalization. Payap
University Journal, 24(1), 24-36.
[5] Thaweejan, Suphatsorn. (2013). Integral Household
Accounting for Accounting Wisdom Encouragement
According to Philosophy of Sufficiency Economy
: A Case Study of Banklang Community, Khayoong
Subdistrict Utumpornpisai District, Sisaket
Province. Journal of Graduate School, 10(48), May-
June, 7-16.
[6] Jhankawi, Thulaporn. (2015). Conducted on
Household Accounting of Agriculturist in Mae
Phun and Chai Chumphon Subdistrict Lablae
Uttaradit Province. Academic Journal Uttaradit
Rajabhat University, 10(2),
114-122.
[7] StufflebeamD.L. (1971). The relevance of the
CIPP evaluation model for educational account
ability. Journal of Research and Development in
Education, Fall.
[8] Sungsri, Supawadee. (2010). Participatory Action
Research for Developing of Household Accounts
Curriculum of Pho-Junthee Prathumpha
Sufficiency Economy Learning Center, Ban
Nonrung, Amphoe Chum Phuang, Changwat
Nakorn Ratchasima. Bangkok : National Research
Council of Thailand.
[9] Mongkolsamai, Varipin and Other. (2017).
The Development of the Household Accounting
of the Women Group at Ban HuaiSai Mae Rim
District Chiang Mai. Lampang Rajabhat University
Journal, 6(2), July - December.
[10] Wichitsathian, Sareeya. (2016). The Development of
Household Accounting Efficiency of Farmers.
Journal of Humanities and Social Sciences, 8(16).
[11] Maitreechit, Ame-orn. (2017). Learning How to Do
Household Accounting of the Dwellers in
Hansa-srangsan Community at Nongkhaem
District in Bangkok. Journal of Chandrakasemsarn,
23(45) : July - December.
[12] Thana-a-nawat,Pawinee. (2013). Household
accounting of sufficiency economy philosophy for
sufficient life. Payap Technology College and
Business Administration.