การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการปลูกไม้ดอก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

ร่มฉัตร เปล่งรัตน์
ชัยวัฒน์ สุภัควรกุล
ประยงค์ หัตถพรหม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอกสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์80/802)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน3)ศึกษาทักษะปฏิบัติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562โรงเรียนบ้านห้วยเตยพัฒนาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1จำนวน6คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย1)แผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอก2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอก3) แบบประเมินทักษะปฏิบัติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4จากการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน เพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอกและ4)แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอกสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าเฉลี่ยค่าร้อยละค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Wilcoxon matched pairs signed-ranks test ผลการวิจัยพบว่า


1. แผนการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเพื่อส่งเสริมทักษะการปลูกไม้ดอก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.89/83.89


2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05


3. นักเรียนมีทักษะปฏิบัติหลังจากการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก


4. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน โดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมวิชาการ.(2544).หลักสูตรการศึกษาขั้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.
กรมวิชาการ.(2545). คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. (ฉบับปรับปรุง2545).กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
กรมวิชาการ.(2551).ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551.กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ:ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมวิชาการ.(2552).การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551. กรุงเทพฯ:องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
กรมวิชาการ.(2553).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2553 (ฉบับที่ 3).กรุงเทพฯ: สยามสปอรต์ซินดิเคท.
กฤษมันต์วัฒนาณรงค์.(2554).นวัตกรรมและเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
เกสรโชตะนา. (2554). การพัฒนาชุดการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาเรืองระบบนิเวศป่าชายคลอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.(วิทยานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยบูรพา.
จำนงพรายแย้มแข.(2534).เทคนิคการวัดและประเมินผลการเรียนรู้กับการสอนซ่อมเสริม (ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์).กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
ชาตรีเกิดธรรม. (2547). เทคนิคการสอนแบบโครงงาน.กรุงเทพฯ: ชมรมเด็ก.
เชษฐ์ศิริสวัสดิ์. (2554). การพัฒนาชุดการสอนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่4.วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม, 7(2),73-74.
ณรงค์เดช มหาศิริกุล. (2553). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานที่ส่งเสริมความรู้ความสามารถในการทำโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์). ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ทิศนา แขมมณี. (2543).14วิธีสอน สำหรับครูมืออาชีพ.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิศนา แขมมณี. (2545). 14 วิธีสอน สำหรับครูมืออาชีพ.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทองหยุ่นเหล่าเคน.(2554). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเรื่องการทำน้ำหมักชีวภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี.(วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน,คณะศึกษาศาสตร์). ขอนแก่น:มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นวลละอองทองยุ้ย.(2554).การพัฒนาชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องชีวิตสัมพันธ์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญชมศรีสะอาด.(2545).พัฒนาหลักสูตรและการสอน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมหาสารคาม.
บุญชมศรีสะอาด.(2545).การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่ 6.กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปัญญารัตน์แซ่โค้ว.(2552).การสร้างชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรุ้วิทยาศาสตร์เรื่องบรรยากาศสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.(วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ประสาท อิศรปรีดา.(2538).สารัตถะจิตวิทยาการศึกษา.กรุงเทพฯ: นำอักษรการพิมพ์.
พิสณุฟองศรี. (2549). การประเมินทางการศึกษา: แนวคิดสู่การปฏิบัติ.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เทียมฝ่า.
ระพินทรโพธิ์ศรี. (2550).สถิติเพื่อการวิจัย.กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
โรงเรียนบ้านห้วยเตยพัฒนา(2561).รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2561.อำเภอเมือง: โรงเรียนบ้านห้วยเตยพัฒนา ขอนแก่น.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2546). สรุปผลการประชุมวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: (เอกสารอัดสำเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2546). สรุปความเห็นจากการประชุมเสวนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 จุด.พฤศจิกายน 2546. (เอกสารอัดสาเนา).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548). รายงานการวิจัย การใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานตามทัศนะของผู้สอน.กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2548). รายงานการวิจัยโครงการวิจัยเชิงทดลอง กระบวนการสร้างหลักสูตรสถานศึกษาแบบอิงมาตรฐาน. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
สำรวยรัตนบรรดาล. (2550). การพัฒนาชุดการสอนแบบศูนย์การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องพลังงานแสงชั้นประถมศึกษาปีที่4.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน)อุบลราชธานี:มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
สำลีรักสุทธี.(2553).การจัดทำสื่อนวัตกรรมและแผนประกอบสื่อนวัตกรรม.นนทบุรี: เพิ่มทรัพย์การพิมพ์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์.กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์.
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2549). แผนพัฒนาเศรฐกิจและสังคมแห่งชาติ.ฉบับที่10พ.ศ. 2550-2554.กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สุดาธนพิบูลกุล.(2552).การสร้างชุดการสอนสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนคณะศึกษาศาสตร์). ชลบุรี:มหาวิทยาลัยบูรพา.
สันดาภู่เกียรติ. (2544).การสอนโครงงานเพื่อการเรียนรู้ : หลักการแนวทางในการจัดกิจกรรม.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุคนธ์สินธพานนท์และคณะ. (2554). วิธีสอนตามแนวปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน.กรุงเทพฯ: 9199เทคนิคปริ๊นท์ติ้ง.
สุชาติวงศ์สุวรรณ.(2542).การเรียนรู้สำหรับศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ที่เป็นนักเรียนผู้สร้างความรู้ด้วยตนเองโครงงาน.กรุงเทพฯ: พัฒนาหลักสูตร กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ.
สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย. (2547).การประเมินผลการปฎิรูปการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พหุกรณีศึกษา. เอกสารการประชุมทางวิชาการการวิจัยเกี่ยวกับการปฏิรูปการเรียนรู้ โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 19- 20 กรกฎาคม 2547.
สุวิทย์ มูลคำ. (2544).การบูรณาการหลักสูตรและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
หนูอาจขิงรัมย์.(2550).การพัฒนาชุดการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เรื่องแรงกับการเคลื่อนที่สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3.(วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอนบัณฑิตวิทยาลัย).อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
อุดม เชยกีวงศ์. (2545). หลักสูตรท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการเรียนรู้.กรุงเทพฯ: กรุงธนพัฒนา.
Greenwood, William T. et al. (1988). Prepared under the Auspices of the Policy Studies Organization. New York: Greenwood.
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Rivert,AnnElizaberth.(2003). “ContextualizingInstructionandStudentLearning inMiddleSchoolProject-basedScienceClassrooms.” DissertaionAbstractsinternation,64(06): 2034-A; December.
Owen, Pamela Mae. (2002). “Bridging Theory and Parctice : Student Teacher Use The Project Approach,” Dissertation Abstracts International,
63(02): 563