กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของพระเจกิอาจารย์อีสานใต้
Main Article Content
บทคัดย่อ
กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของพระเกจิอาจารย์อีสานใต้ ท่านได้สั่งสอนผู้ศรัทธาให้ปฏิบัติตามคำสอนขององค์ภาวนา พระกัมมัฏฐาน ให้มรการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีโดบจัดโครงการอบรมศีลธรรมแก่ชุมชน จัดให้มีการบำเพ็ญสมาธิ เจริญจิตภาวนา บวชเนกขัมมบารมี จัดกิจกรรมในวันมาฆบูชา วิสาขบูชา จัดกฐิน นุ่งขาวห่มขาวนั่งสมาธิฟังธรรม และการสร้างพลังศรัทธาต่อประชาชนของพระเกจิอาจารย์อีสานใต้โดยมีการสร้างวัตถุมงคล ให้เป็นตัวแทนเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจให้คลายจากความทุกข์ ความหวาดกลัว และอยู่อย่างเป็นสุขได้
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
[2] Bunchai P. andJantason. ( 1973) . Buddhism: Status, roles, and changes in Isan society. Mahasarakham: The Research Institute of Northeastern Art and Culture Mahasarakham University.
[3] Phrakhrusamu Woravit Pasuko. (2016). The Monks with the Strengthening of the Communities: A Case Study of Wat Sam Chuk, on the Western Site and the Eastern Site, Journal of MCU Peace Studies, 4(sp1), 270-283
[4] P.A. Payutto. (2016). Dictionary of Buddhism. (38thed.). Bangkok : Phlithamma, 178-189.