ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ : ความรับผิดทางกฎหมายของธนาคารผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การให้บริการทางการเงินของธนาคารผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือโทรศัพท์มือถือ หากมีโอนเงินจากบัญชีในระบบโดยทุจริตนั้น
ผู้ใดจะเป็นผู้เสียหายที่มีอำนาจในการฟ้องคดีเพื่อเรียกเอาเงินคืนจากผู้กระทำความผิดแต่หากผู้ใช้บริการเป็นผู้เสียหายนั้น การดำเนิน
คดีต้องรวบรวมพยานหลักฐาน ซึ่งอยู่กับธนาคารผู้ให้บริการ เป็นการสร้างภาระแก่ผู้ใช้บริการ ในการนี้เห็นควรให้มีคณะกรรมการ
ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ มีอำนาจดูแลข้อพิพาท รวบรวมพยานหลักฐาน และการดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดต่อไป
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Description of Juristic Act - Contract. 16th edition.
Bangkok : Winyoochon Printing.
[2] ChaiwatWongwattasarn, ThaweesakKo-anantakul
and Surangkana Keawjumnong. (2008).
Description of the Electronic Transactions Act
2544. National Electronics and Computer
Technology Center.
[3] PeerapatFoithong. (2010). Legal issue on electronic
banking. Master on Laws Thesis, Bangkok :
Thammasat University.
[4] PhimjaiRuenrerng. (2012). Civil and Commercial
Law regarding borrowing, deposit, warehousing,
reconciliation and gambling. 2nd edition. Bangkok
: Ramkhamhaeng university.
[5] PornphectWichitchonlachai. (2008). Description of
the Computer Crime Act 2007. [Online] http://
www.ldd.go.th/web_Enactment/Law/explanation.
[6] KhemruethaiSumawong and Others. (2013).
Development of laws to protect users of financial
services. Bangkok : Office of Economics and
Finance.
[7] Standard Chartered Bank. (Thailand). (2016). Internet
banking service. Safety in using the Online
Bankingservice.[6October 2016]https://www.
sc.com/th/ways-to-bank/online-security.html