การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนประถมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนประถม
ศึกษา โดยอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับ ผลการวิจัยสรุป โมเดลองค์ประกอบเชิงยืนยันพหุระดับ
ของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนประถมศึกษา ที่พัฒนาขึ้นมีความตรงเชิงโครงสร้างหรือมีความสอดคล้องกับข้อมูล
เชิงประจักษ์ (Chi square = 260.844, df=49, CFI=0.950, TLI=0.927, RMSEA=0.073, SRMRW =0.046, SRMRB =0.068)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนประถมศึกษาวัดได้จากองค์ประกอบหลัก 3 องค์ประกอบ (การเสริมสร้างศักยภาพด้านบุคคล
การเสริมสร้างศักยภาพระหว่างบุคคล และการเสริมสร้างศักยภาพขององค์กร) ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในระดับสูง องค์ประกอบหลัก
ทั้ง 3 องค์ประกอบประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย 9 องค์ประกอบ ต่างเป็นตัวชี้วัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพทั้งในระดับบุคคลและ
ระดับองค์กร
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Thailand Development Research Institute Foundation. (2013). Complete Report:Establishing a basic educational reform strategy for accountability. Bangkok : Thailand Development Research Institute Foundation.
McKinsey and Co. (2007). How the world’s best-performing school systems come out top. (Access : http://mckinseyonsociety.com/downloads/reports/Education/Worlds_School_Systems_Final.pdf)
Vicharn Panich (2012). The way to create learning for students in the 21st century. Bangkok : Sodsri-Saritwong Foundation.
Kruse, S. D., Louis, K. S., & Bryk, A. (1995).An emerging framework for analyzing school based professional community. In Kruse, S. D. ,Louis, K. S., and associate, professionalism and Community : Perspectives on Reforming Urban Schools. Thousand Oaks, CA: corwin press.
Mitchell, Coral, Profound improvement : building capacity for a learning community/Coral Mitchell and Larry Sackney. 2nd edition. 2011by Routledge, New York.
Mclaughlin, M. W., and Talbert, J. E. (2006). Building school-based teacher learning communities : professional strategies to improve student achievement. New York : Teachers College Press.
Darling-Hammond. L. and Robert Rothman.(2011). Teacher and Leader Effectiveness in High-Performing Education Systems. Washington,DC.