เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยพัฒนาการเรียนการสอนได้จริงหรือ?

Main Article Content

ยุภาวดี พรมเสถียร
ธีรชัย เนตรถนอมศักดิ์

บทคัดย่อ

เทคโนโลยีสารสนเทศ กลายเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันอย่างมาก เพราะจากสถานการณ์ของโลกที่มีการระบาดของ COVID-19 จึงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก โดยเฉพาะด้านการศึกษาการจัดการเรียนการสอนที่จะต้องเปลี่ยนจากการเรียนในห้องมาเรียนแบบออนไลน์โดยอาศัยเทคโนโลยีเพื่อช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน เป็นเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงผู้เรียน และส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้เรียนได้ แต่ใช่ว่าเทคโนโลยีจะให้ประโยชน์ด้านเดียว จากสภาพปัจจุบันปัญหาทางด้านการศึกษาจากการใช้เทคโนโลยีก็ยังมีให้เห็น เช่น การขาดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา อุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการใช้งาน ขาดความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีของครู รวมถึงการกระจายโครงสร้างและการบริหารงานที่ยังไม่ประสบความสำเร็จ สิ่งเหล่านี้อาจยังเป็นปัญหาในการนำเทคโนโลยีสู่การเรียนการสอนได้ การหาแนวทางแก้ปัญหาสิ่งเหล่านี้น่าจะเป็นเรื่องที่จะช่วยให้เทคโนโลยีได้เข้าถึงผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง เช่น การเพิ่มความรู้ และอุปกรณ์เทคโนโลยีให้กับครูจะให้ผลดีมากกว่าผู้เรียนการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นการกำหนดนโยบายของภาครัฐที่ชัดเจน ให้ความสำคัญทั้งเด็กชนบท และเด็กในเมืองให้มีโอกาส และความเท่าเทียมกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวียสุวรรณ. (2539). แนวคิดการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน และแนวทางในการจัดตั้งศูนย์วิทยบริการด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา สำหรับสายงานด้านมัธยมศึกษา.พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อแกรมมี.
กิดานันท์มลิทอง. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.
ขันทอง พะชะ. (2551). ปัจจัยสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการสอนของครูปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู (วิทยานิพนธ์กศ.ม). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เฉลิมชัยเลี้ยงสกุล.(2563).การศึกษาในยุค COVID-19. บทความทางวิชาการ.วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
เทื้อน ทองแก้ว. (2563).การออกแบบการศึกษาในชีวิตวิถีใหม่: ผลกระทบจากการแพร่ระบาด COVID-19. วารสารคุรุสภาวิทยาจารย์. 1(2) พฤษภาคม -สิงหาคม 2563.
ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำประเสริฐชัย. (2546). บทบาทใหม่ในระบบการศึกษาไทย. วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี.31(123): 32-34.
วาสนา ทวีกุลย์ทรัพย์. (2543). การบริหารศูนย์สื่อการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
สายสุดา ปั้นตระกูล, กาญจนา เผือกคง และปริศนา มัชฌิมา. (2557). การศึกษาสภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
การเรียนการสอนระดับอนุบาลในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร, วารสารสมาคมนักวิจัย. 19(2): 81-91.
สมชาย เทพแสง. (2547). “อี-ลีดเดอร์ซิพ (E-Leadership)ผู้นำการศึกษาในยุคดิจิตอล”.วิชาการ. หน้า: 55-62.
สุวิทย์ เจริญพานิช. (2550). การพัฒนารูปแบบการบริหารศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาในวิทยาลัยพาณิชยการ. (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร.(2558).แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. เอกสารกลุ่มงานวิจัยพัฒนาสื่อ และ เทคโนโลยี กองเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน.
สำนักงานคณะกรรมการแห่งชาติ. (2553).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 และ(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553.กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี.(2562).Focusประเด็นจาก PISA: ฉบับที่ 48(ธันวาคม 2562).สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2564 จาก https://pisathailand.ipst.ac.th/issue-2019-48/
Margarida R.; Federico B., (2017), Digital technologies andlearningoutcomesofstudentsfromlowsocio-economicbackground:AnAnalysisofPISA2015,(Online),RetrievedJuly10,2021.From:https://publications.jrc.ec.europa.eu/repository/handle/JRC106999
Marr, B. (2020). The Top 5 Tech Trends That Will Disrupt Education in2020-The EdTechInnovations
EveryoneShould Watch.RetrievedJuly10,2021.From:https://people.uis.edu/rschr1/onlinelearning/?p=63538
Nasongkhla, J. (2018). Kanokbaepkanriannaeo dichithan [Digital Learning Design]. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.
Paha, S. (2017).Krabuan that theknloyikansuksanai yukdichithan [The Paradigm of Educational Technology in the Digital Age].Phrae :Phrae Thai, Printing Industry.
Schwenger.B. (2018).Creating blended learning experiencesrequires more than digital skills. Retrieved July 10, 2021.From:https://ojs.aut.ac.nz/pjtel/article/view/46
OECD (2015), Students, Computers and Learning:Making the Connection, PISA, OECD Publishing,Paris.