ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ความเชื่อมโยง Paradigm การบริหาร Thailand 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ รวมถึงระดับรัฐ การพัฒนาเศรษฐกิจและการบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ด้วยความพอเพียง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีระบบภูมิคุ้มกันที่ดี ในโลกยุคโลกาภิวัตน์ กระบวนทัศน์ใหม่ที่กำลังนำพาประเทศไทยก้าวไปสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” คือ ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง Paradigm ทางการบริหารที่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯได้มอบไว้ให้กับคนไทยทุกคนถือปฏิบัติ ให้คนไทยทุกคนมีส่วนร่วมในการ”ร่วมคิด ร่วมทำ”เพื่อให้ประเทศก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ระดับปานกลาง ไปสู่ประเทศที่มีรายได้ระดับสูง โดยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย หลักการ ทฤษฎี(Theory) ในการบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางสร้างความเข็มแข็งจากภายใน นั่นคือ “ระเบิดจากข้างใน” ด้วยการส่งเสริมความเข้มแข็งให้ภาคการเกษตร การเกษตรประณีต การผลิตที่สมดุล การแปรรูป การพัฒนาตลาด และเชื่อมต่อเครือข่ายผู้ผลิต เพื่อขับเครื่องกระบวนทัศน์การพัฒนา Thailand 4.0 ไปตามทางสายกลาง มีคุณธรรม จริยธรรมและไม่เบียดเบียนให้ผู้อื่นเดือดร้อน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(2559).ปราชญ์เกษตรของแผ่นดิน สาขาปราชญ์เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง.[Online] www.moac.go.th/helpcenter/ewt_news.php?nid=4104 [5 พฤศจิกายน 2559]
กัญญา มนอินหว่าง. (2551). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.รายงานการวิจัยทุนสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2550). มิติสุขภาพ: กระบวนทัศน์ใหม่เพื่อสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
ชมรมพัฒนาสังคม. ทฤษฎีสังคม (Social Theory). กรุงเทพฯ : ชมรมพัฒนาสังคม คณะพัฒนาสังคม. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2534, น. 7 – 8.
ณรัฐวรรณ มุสิก.(2557). ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการบันทึกบัญชีครัวเรือนและคุณภาพการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกร จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ : ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2557 หน้า 45-56
บวร เทศารินทร์. (2559). ประเทศไทย 4.0. [Online] http://www.admissionpremium.com/news/1377 [8 พฤศจิกายน 2559]
ประทีป เมืองงาม. (2542). การประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคลากรในโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี : การศึกษาค้นคว้าอิสระ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
ประเวศ วะสี. (2550). จุดเปลี่ยนกระบวนทัศน์สุขภาพไทย. ในมิติสุขภาพ : กระบวนทัศน์ ใหม่เพื่อสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
ปราณี ตันประยูร. (2541). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และ ไซเทกซ์.
ผู้จัดการออนไลน์.(2557). สู้แล้งด้วยรัก "ลิ่มทอง" พิพิธภัณฑ์มีชีวิตแห่งใหม่ที่บุรีรัมย์ . [Online] http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9570000128330[4 พฤศจิกายน 2559]
มารศรี ศักดา.(2557). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนขยายโอกาส สำนักงานเขตพื้นที่การประถมศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2559). แนวคิดทฤษฏีใหม่. [Online] http://www.chaipat.or.th/ [8 พฤศจิกายน 2559]
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์ ,
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.(2559). นโยบายสาธารณะ. [Online] https://th.wikipedia.org/wiki/[8 พฤศจิกายน 2559]
วีระ สมบูรณ์. (2550). กระบวนทัศน์ใหม่กับสังคมไทย. ในมิติสุขภาพ: กระบวนทัศน์ ใหม่เพื่อสร้างสังคมแห่งสุขภาวะ. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.
สัญญา เคณาภูมิ.(2559). บทวิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ความเชื่อมโยงแนวปฏิบัติทฤษฎีอื่น. วารสาร ว.มรม.(มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์),10 (2) : พฤษภาคม-สิงหาคม 2559 หน้า 72
สาโรจน์ โอพิทักษ์ชีวิน. (2550). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แมคกรอฮิล.
สุพัฒน์ ไพใหล. (2556). กระบวนทัศน์พัฒนาเพื่อการพึ่งตนเองของกลุ่มเครือข่ายอินแปง ในจังหวัดสกลนครอุดรธานี กาฬสินธุ์และมุกดาหาร.มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
สุวิธิดา จรุงเกียรติกุล.(2554). งานวิจัยเรื่องอนาคตภาพรูปแบบสังคม แห่งการเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เชิงบวกสำหรับชุมชน. ภาควิชาการศึกษาตลอดชีวิต, คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เสรี พงศ์พิศ. (2553). ร้อยคำทีควรรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เจริญวิทย์การพิมพ์.
อรศรี งามวิทยาพงศ์. (2549). กระบวนการเรียนรู้ในสังคมไทยและการเปลี่ยนแปลง: จากยุคชุมชนถึงยุคพัฒนาความทันสมัย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิทยาลัยการจัดการสังคม.
อุกฤษฎ์ ศรีดโรมนต์. (2556). การจัดการระบบเศรษฐกิจครัวเรือนไทย ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.วารสาร ว.มรม.(มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7 (3) : กันยายน-ธันวาคม 2556 หน้า 90
เอื้อบุญ ที่พึ่ง.(255). ยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : ดุษฏีนิพนธ์สาขาวิชา อุดมศึกษา. ภาควิชา นโยบาย การจัดการและความเป็นผู้นำทางการศึกษา.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Deming, W. Edwards. (1986). Out of the Crisis. MIT Center for Advanced Engineering Study. ISBN 0-911379-01-0.
Guba, E.G. (Ed.) (1990). The Paradigm dialo@. Newbury Park, CA: Sage.
Kuhn, Thomas S. 1996. The Structure of Scientific Revolutions. 1996. Third Edition, Enlarged.Chicago: The University of Chicago Press
Michael Oakeshott.(2004) “What is Political Theory,” in Michael Oakshott. What is History? And Other Essays. (Michael Oakeshott: Selected Writings) (v. 1). Luke O’ Sullivan (ed.) UK : Imprint Academic, p. 391.