ตามรอยเท้าพ่อ: ถอดบทเรียนประสบการณ์เศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้าน จังหวัดราชบุรี

Main Article Content

อรรถพล อุสายพันธ์

บทคัดย่อ

 


เสียงร่ำไห้ทั้งแผ่นดิน  ความเศร้าโศก เสียใจเกาะกุมคนไทยทั้งชาติจนสุดที่จะพรรณนา  เมื่อทราบข่าวพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ภูมิพลอุดลยเดชเสด็จสู่สวรรคาลัย ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559


            พระองค์ท่านเปรียบเสมือนพ่อที่สถิตอยู่ในใจของทุกคน  การน้อมรำลึกถึงพ่อ คือ การทำความดีและนำสิ่งที่พ่อสอนพ่อบอก คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตและการทำงาน


ลูกจะเดินตามรอยเท้าพ่อ  ในทางสายกลาง  ทางที่ไม่เบียดเบียนผู้อื่น เป็นทางที่ไม่ประมาท  และจะยึดหลัก ดังนี้


            พอประมาณ  โดยการพึ่งตนเองเป็นหลัก  ใช้ชีวิตแบบพอดี ๆ  ไม่หลงไปกับกระแสนิยมวัตถุ  ทำอะไรตามกำลังและฐานะของตัวเอง


            มีเหตุผล  โดยการคิดพิจารณาก่อนอย่างรอบคอบจะตัดสินใจ จะทำอะไรได้ผ่านการปรึกษาหารือการคิดวิเคราะห์ถึงผลดี ผลเสียและผลกระทบก่อนเสมอ


            มีภูมิคุ้มกัน  โดยมีความเข้มแข็งและมีศักยภาพภายในตัวเอง  สามารถตั้งรับและปรับตัวกับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกได้เป็นอย่างดี


            มีความรู้  โดยการศึกษา  ค้นคว้า  หาข้อมูลให้มีความรู้ก่อนที่จะลงมือทำอะไร ใช้ปัญญาและหลักวิชาในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ


            มีคุณธรรม  โดยกรประพฤติดี  มีความซื่อสัตย์ ขยัน  อดทน  และเอื้ออาทรต่อเพื่อนมนุษย์


            ตื่นเช้าขึ้นมา  พ่อไม่ได้หายไปไหน  พ่อยังอยู่ในหัวใจของลูก  ทุกคำสอนของพ่อยิ่งย้ำเตือนให้ลูกนำไปปฏิบัติให้เกิดผล


            พ่อผู้ประเสร็จ  เสด็จสู่ฟากฟ้าสรวงสวรรค์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2541). เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง : แนวความคิดและยุทธศาสตร์.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่นกรมการปกครอง.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). ทฤษฎีใหม่ในหลวง ชีวิตที่พอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.

กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ. (2550). ประมวล พระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พุทธศักราช 2493 – 2548. เล่ม 1 ถึง เล่ม 8. กรุงเทพฯ : บริษัทเกรย์แมทเทอร์ จำกัด.

กังสดาล อยู่เย็น. (2544).พลวัตชุมชนบ้านปากเกร็ดภายใต้แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คฑาวุธ พิมพ์สะอาด. (2546). ความสำเร็จในการทำการเกษตรแบบผสมผสานภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของศูนย์การศึกษาพัฒนาห้วยทราย อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.

จริยา สุพรรณ. (2548). การยอมรับเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตของเกษตรกรในชุมชนบ้านหลุมมะขาม ตำบลหนองไม้แก่น อำเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ทรงชัย ติยานนท์. (2542). การศึกษาทัศนะของเกษตรกรในการสร้างความมั่นคงทางรายได้ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทิพวัลย์ สีจันทร์. (2546). “พลวัตการเกษตรและเศรษฐกิจชุมชนภาคกลาง”. ม.ป.ท.

ธเนศ ศรีวิชัยลำพันธ์. (2544). “การจัดการกลุ่มสะสมทุนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนแบบยั่งยืน : กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธัญญรักษ์ มีนะนันทน์. (2546). “ความพร้อมในการนำนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ: ศึกษากรณีสำนักงานส่งเสริมการเกษตรจังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

นิคม มูสิกะคามะ. (2542). ทฤษฎีใหม่ในหลวง : ชีวิตที่พอเพียง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2542). “มิติทางวัฒนธรรมในยุคเศรษฐกิจพอเพียง”. ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

เบญจวรรณ สุรินทร์. (2545). การวิเคราะห์เปรียบเทียบทางเศรษฐกิจระหว่างเกษตรกรกระแสหลักและเกษตรทฤษฎีใหม่ : กรณีศึกษาจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,

ปนัดดา พงษ์นภาพิไล. (2543). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดำริ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประทีป พรมสิทธิ์. (2544). การวิเคราะห์เชิงปรัชญาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ประธินพร จินะวงษ์.(2544). “การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้กิจกรรมทางเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ในชุมชนที่ใช้แนวทางการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียง”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ประเวศ วะสี.(2544). มิติทางวัฒนธรรมในยุคเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พับลิซซิ่ง จำกัด (มหาชน).

. (2542). “เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางประชาสังคม”. กรุงเทพฯ : มูลนิธิหมอชาวบ้าน.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์ และคณะ.(2550). การสังเคราะห์องค์ความรู้เศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ปรียานุช พิบูลสราวุธ. (2549). โครงการวิจัยเศรษฐกิจพอเพียง : หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง. ( ออนไลน์). แหล่งที่มา : http://www.sufficiency economy.org.

เปรม ติณสูลานนท์. (2544). “บทนำทฤษฎีใหม่”ทฤษฎีใหม่ในหลวง ชีวิตที่พอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.

พรเพ็ญ ทับเปลี่ยน.(2546). “เส้นทางเศรษฐกิจชุมชนในกระแสทุนนิยม”. ม.ป.ท.

พระพรหมคุณาภรณ์. (2544). หนทางฝ่าวิกฤตและทางรอดของสังคมไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ภัคทรรศ์.

พระมหาประทีป พรมสิทธิ์. (2545). “การศึกษาวิเคราะห์เชิงปรัญชาเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง”. วิทยานิพนธ์มหาบันฑิต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พลฤทธิ์ สุวรรณเมธา. (2546).พุทธจริยธรรมเพื่อเสริมสร้างพื้นฐานการดำเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษากลุ่มเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พัฒนาภรณ์ ฉัตรวิโรจน์. (2545). บทบาทครูในการส่งเสริมความรู้เศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ มหาบันฑิต. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิพัฒน์ ยอดพฤติการณ์. (2550). เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงอะไร. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยพัฒน์มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมถ์.

ภคพัฒน์ทิพยประไพ.(2540). “แนวคิดวิถีการผลิตแบบเอเชียกับการอธิบายหมู่บ้านไทย”. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์.

ภูษณ ปรีย์มาโนช. (2544). “ทฤษฎีใหม่ในหลวง รากฐานเศรษฐกิจ 2 ทาง” ทฤษฎีใหม่ในหลวง ชีวิตที่พอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.

มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ. (2530). “ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว”. แปลโดย รสนา โตสิตระกูล. กรุงเทพฯ : โกมลคีมทอง.

มาฆะ ขิตตะสังคะ.(2537). การพัฒนาชนบท “องค์กรเอกชนกับการพัฒนาชนบท”. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วินัย เศรษฐ์บุญสร้าง. (2550). แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้น สู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด.

วินัย สุปินะ. (2544). “การดำเนินโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเศรษฐกิจแบบพอเพียงเฉลิมพระเกียรติ ของกรมพัฒนาชุมชนในจังหวัดน่าน”.วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ศศิพร ปาณิกบุตร. (2544). ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์กับการดำเนินชีวิตของเกษตรกรในรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำริทฤษฎีใหม่. คณะสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สกล พรหมสิน. (2545). ความสัมพันธ์ระหว่างการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลหงษ์เจริญ อำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมบัติ จันทรวงศ์. (2531).“ชุมชนปฐมอโศก : การศึกษาพุทธยูโทเปีย”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มูลนิธิธรรมสันติ.

สมบัติ พันธวิเศษฏ์ และคณะ. (2545). เศรษฐกิจพอเพียงกับการอยู่รอดของชุมชนชนบทไทย: กรณีศึกษาชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

สมศรี จินะวงษ์. (2544). การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ในชุมชนที่ใช้แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,

สมศักดิ์ ลาดี. (2543). “การศึกษาการดำเนินงานโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดอุดรธานี”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สิทธิพงศ์ สิทธิเมธี. (2543). การประเมินผลทางเศรษฐกิจและสังคม ในการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกร ตำบลเขาดินพัฒนา อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกริก.

สุเมธ ตันติเวชกุล.(2542). การดำเนินชีวิตในระบบเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริ. ม.ป.ท.

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2543). ใต้เบื้องพระยุคลบาท. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน.

เสน่ห์ จามริก. (2544). เศรษฐกิจพอเพียงในกระแสโลกาภิวัตน์. หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ, ฉบับวันจันทร์ ที่ 17 กันยายน 2544.

เสรี พงศ์พิศ.(2547). ร้อยคำที่ควรรู้. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์.

. (2550).เศรษฐกิจพอเพียงเกิดได้ถ้าใจปรารถนา. กรุงเทพฯ : เจริญวิทย์การพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2549). ประมวลคำในพระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดช ตั้งแต่พุทธศักราช 2493 – 2546 ที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 4. ม.ป.ท.

. (2542). พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นพลังแผ่นดิน. วารสารเศรษฐกิจและสังคม ฉบับพิเศษประจำปี 2542.

สำอาง สืบสาน และคณะ. (2543). “ความพอเพียงทางสังคมชนบทไทย: กรณีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

อภิชัย พันธเสน. (2542). เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงกับการวิเคราะห์ตามความหมายของนักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.

อรสุดา เจริญรัถ. (2546). เศรษฐกิจพอเพียงภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย”. กรุงเทพฯ : บริษัทพิมพ์ดีด จำกัด.

อำพล เสนาณรงค์. (2544). “การเกษตร ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ”ทฤษฎีใหม่ในหลวงชีวิตที่พอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ร่วมด้วยช่วยกัน.

อุดมศักดิ์ วงศ์พันธุ์. (2541). “ศักยภาพของชุมชนชนบทในการพึ่งตนเองด้านเศรษฐกิจ”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Capra, F. (1996). The web of life: a new scientific understanding of Living systems.New York: Anchor Books.

Feyerabend, Paul K. (1978). Science in a free society. London: NLB.

Heikkila-Horn, Marja-Leena. (2002). Small is beautiful in Asoke villages. (Insight intoSantiAsoke). Bangkok: Fah-aphai.

Jackson, Peter A. (1989). Buddhism, legitimation, and conflict : the Political functions ofurban Thai Buddhism. Singapore :Institute of Southeast Asian Studies.

Kaewthep,Kanoksak. (2003). An Imagining” Community : A Case of SisaAsoke Community, Srisaket Province. Paper Presented to the international Symposium : Imaginging Communities: Ethnographic Approaches in South East Asia, The National Museum of Ethnology, Osaka, Japan, November 17 – 18, 2003.

Lincoln &Guba. (1985). Naturalistic inquiry. Beverly Hills: Sage Publications Lincoln, Y. Guba, E. G.

McCargo, Duncan. (1997). ChamlongSrimaung and the new Thai politics. London : Hurst & Company.

P.FREIRE. (1998). Pedagogy of the Oppressed, NY.Continuum.

S.LOREK, J.H. (2001). SPANGENBERG, Environmentally Sustainable Household Consumption, Wuppertal Papers, no.117, Nov. 2001.

T.PRINCEN. (2003). Principles for Sustainability : From Cooperation and Efficiency to Sufficiency, in Global Environmental Politics 3:1, Feb.2003, MIT.

Wilber, K. (2000). A Brief History of Everything. Boston :Shambhala.

Wallerstein,Immanuel. (1997). Geopolitics and geoculture : essays onthe changing world-system. Great Britain: University Press.

W.SACHS. (2000). Development : The Rise and Decline of an ldeal, Wuppertal papers, No.108, Aug. 2000.

. (1999). Post-Fossil Development Patterns in the North, Wuppertal Papers, No.95, Sep. 1999.