ทักษะการอ่านกับการสอนภาษาจีนในประเทศไทย

Main Article Content

กมลวรรณ คำทวี

บทคัดย่อ

ทักษะการอ่านภาษาจีนในประเทศไทยในปัจจุบัน มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นทักษะที่ผู้เรียนจำเป็นต้องมี            และต้องพัฒนาใน 4 ทักษะ สำหรับผู้เรียนภาษาจีน อันประกอบด้วย ทักษะการฟัง ทักษะการอ่าน ทักษะการพูด และทักษะการเขียน        ซึ่งจากการศึกษาและสำรวจพบว่า การสอนภาษาจีนในประเทศไทยนั้น ผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะการอ่านหรือมีทักษะการอ่านน้อย ส่งผลให้ทักษะการอ่านภาษาจีนไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร จึงจำเป็นจะต้องพัฒนาทักษะการอ่านภาษาจีน เนื่องจากทักษะการอ่านภาษาจีนเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถส่งเสริมการทำงานหรือการประกอบอาชีพที่เกี่ยวกับการอ่านภาษาจีนได้ และยังมีความสำคัญในการสอบวัดความรู้ในภาษาจีนในปัจจุบัน เช่น การสอบ HSK


ดังนั้นบทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ การอ่านภาษาจีน คืออะไร ความสำคัญของการอ่านภาษาจีน จุดประสงค์ของการอ่านภาษาจีน ประเภทของการอ่านในภาษาจีน ประโยชน์ของการอ่านในภาษาจีน สภาพปัจจุบันและปัญหาของการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย แนวทางการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาจีนในการจัดการเรียนการสอนของประเทศไทย ตัวอย่างสื่อการอ่านภาษาจีน และการวัดและประเมินผลทักษะการอ่านภาษาจีน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ ทับสีรัก. (2562). การพัฒนาการอ่านออกเสียงภาษาจีนโดยใช้เกมประกอบแบบฝึก สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

โกวิทย์ โชติพินิจ. (2561). การพัฒนาความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้การสอนอ่าน แบบ MIA สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต).มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ณัฏฐณิกานต์ ทองโคตร. (2559). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะตามแนวการจัดการเรียนรู้แบบ MIA. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ธัญญารัตน์ มะลาศรี. (2565). การจัดการเรียนกรสอนภาษาจีนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านเร็วสำหรับผู้เรียนชาวไทย.วารสารวิจัยราชภัฎกรุงเก่า, 9(2), 131-140.

ธัญญารัตน์ มะลาศรี และ Wei Jingru. (2560). การจัดเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟังและการพูดภาษาจีนสำหรับผู้เรียนชาวไทย. วารสารวิจัยราชภัฎกรุงเก่า,4(3), 81-90.

ธวิวาร โฉมเฉลา. (2557). มหัศจรรย์แห่งการอ่าน.(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์.

นฤชล สถิรวัฒน์กุล. (2560). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาจีน โดยใช้แผ่นภาพการ์ตูน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดบึงบัว กรุงเทพมหานคร.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

นิจพร จันทรดี. (2557). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาจีนเพื่อการความเข้าใจด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของฮันเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปะศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปัทมวรรณ ตระการไทย. (2560). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ประกอบแบบฝึกทักษะ. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ปิยวรรณ ปิยะกาญจน์, สุจิตรา ประวงษ์ และณัฏฐพงศ์ กาญจนฉายา. (2564). การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ภาษาจีนสำ หรับผู้เรียนระดับต้น.วารสารสารสนเทศและการเรียนรู้, 33(3), 1-11.

พัฒจิรา จันทร์คำ. (2554). การอ่านและการวิจารณ์เรื่องสั้น.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เยลโล่.

พิชชาภา ยาวะระ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนแบบ MIA ประกอบแบบฝึกทักษะของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

วิจารณ์ พานิจ. (2557). การเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างไร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.

วิสุดา แก้วหยด. (2563). การวิเคราะห์คำศัพท์ HSK ในหนังสือเรียนภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี, 11(2), 134-150.

ศรีสุดา เจษฎาภิสัก. (2562). การพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาจีนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค LT. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สนิท สัตโยภาส. (2555). แบบฝึกเพื่อสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเสียงตัวสะกดไม่ชัดเจน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ธารอักษร.

สุวัฒน์ วัฒนานนท์.(2554). แนวคิดการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย สังเคราะห์ภาพรวม. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.

หทัย แช่เจี่ย. (2559). การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทย ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

อัฉรา วงศ์โสธร. (2554). การทดสอบและประเมินผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อวยพร พานิช. (2553). ภาษาและหลักการเขียนเพื่อการสื่อสาร (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพ: สำนักพิม์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Bingling Zhong. (2019). Chinese Communication Skills of Secondary School Students in Thailand.e-Journal of Education Studies, Burapha University, 1(5), 1-15.

姚凯. (2020). 45天内快速有效习得基础汉语的教学法. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 12(24). 1-11.

高博轩. (2021). 对泰汉语教学课堂管理研究. 汉字文化 (02). 105-107.