การดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ตามความคิดเห็นของคณะกรรมการชุมชน Perspectives of Community Committees on Good Governance Performance of Muang Maha Sarakham Municipality, Mahasarakham Province
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรกเพื่อศึกษาระดับการดำเนินงาน และประการที่สองเพื่อเปรียบเทียบ การดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ที่มีอายุ อาชีพ
และระดับการศึกษาแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง เป็นคณะกรรมการชุมชนเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม จำนวน 210 คนสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิและแบบง่าย เครื่องมือการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .96 การวิเคราะห์ข้อมูลแสดงเป็นค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์
ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่อยู่ในระดับมาก คือ หลักความคุ้มค่า
2. คณะกรรมการชุมชนที่มีอาชีพ อายุ และระดับการศึกษาต่างกันมีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
This research aimed to 1) study perspectives of community committees on good governance
performance of Muang Maha Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province, 2) compare perspectives
of community committees classified by age, occupation, and educational level towards the good
governance performance of Muang Maha Sarakham Municipality. The samples were 210 community
committees from 30 communities. The research instrument was five ratting scale questionnaire with the
reliability of .96. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, and
One - way ANOVA.
The results of the research were as follow:
1. The perspectives of community committees on good governance performance of Muang Maha
Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province, were average. For each aspect of good governance,
effectiveness was high; participation, virtues, rule of law, accountability, and transparency were average.
2. The comparison of perspectives of community committees on good governance performance
of Muang Maha Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province classified by age, occupation, and
educational level were not significantly different.
และระดับการศึกษาแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง เป็นคณะกรรมการชุมชนเขตเทศบาลเมืองมหาสารคาม จำนวน 210 คนสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิและแบบง่าย เครื่องมือการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ
มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .96 การวิเคราะห์ข้อมูลแสดงเป็นค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์
ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับการดำเนินงานของคณะกรรมการชุมชนตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมืองจังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่อยู่ในระดับมาก คือ หลักความคุ้มค่า
2. คณะกรรมการชุมชนที่มีอาชีพ อายุ และระดับการศึกษาต่างกันมีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลเมืองมหาสารคาม อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกันทางสถิติ
This research aimed to 1) study perspectives of community committees on good governance
performance of Muang Maha Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province, 2) compare perspectives
of community committees classified by age, occupation, and educational level towards the good
governance performance of Muang Maha Sarakham Municipality. The samples were 210 community
committees from 30 communities. The research instrument was five ratting scale questionnaire with the
reliability of .96. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, and
One - way ANOVA.
The results of the research were as follow:
1. The perspectives of community committees on good governance performance of Muang Maha
Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province, were average. For each aspect of good governance,
effectiveness was high; participation, virtues, rule of law, accountability, and transparency were average.
2. The comparison of perspectives of community committees on good governance performance
of Muang Maha Sarakham Municipality, Maha Sarakham Province classified by age, occupation, and
educational level were not significantly different.
Article Details
บท
บทความวิจัย
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา