การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ The Development of Mathematics Learning Outcomes of The Students in

Main Article Content

วีระยุทธ์ ศรีหาพล1 Weerayut Srihaphon1
มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์2 Maliwan Tunapan2
นิภาพร ชุติมันต์3 Nipaporn Chutiman3

บทคัดย่อ

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่มีลำดับขั้นตอน
ในการเรียนที่พัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นลำดับขั้นโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยกระบวนการดังกล่าวเป็นกระบวน การที่น่าสนใจเป็น
อย่างยิ่ง ดังนั้นผู้วิจัยได้มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาและศึกษากระบวนการเหล่านี้เพื่อบูรณาการเพื่อช่วยให้นักเรียนนักศึกษามีผลการเรียน
ที่ดีและมีประสิทธิภาพทางด้านการเรียนมากยิ่งขึ้น โดยจะได้ทั้งกระบวนการเรียนรู้ควบคู่กันไปกับกระบวนการสอน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่า
ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากครูผู้สอนจะดำเนินการจัดการเรียนรู้เอง โดยไม่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ขาดการนำ
ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ทำใหนั้กเรยี นไมเ่ ห็นความสำคัญของการเรยี นเทา่ ทคี่ วร จงึ สง่ ผลทำใหค้ รขู าดคณุ ภาพในการสอนไปด้วย ทำใหไ้ ม่
บรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียน เพื่อให้การเรียนการสอนได้มาซึ่งประสิทธิภาพ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อหาประสิทธิภาพของ
แผนการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรม
การเรียนรู้แบบซิปปาและการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของแผนการเรียน
รู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ซิปปาและการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ที่ได้รับการเรียนรู้ เรื่อง
อัตราส่วน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดยกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปาและการจัดการเรียนรู้โดยวิธีปกติ และ
ศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ในวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่จัดการเรียนรู้โดย
กิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้คือ นักเรียนที่เรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 วิทยา
บริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวอุดรธานี จาก 2 ห้องเรียน โดยกำหนดกลุ่มการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา 1 ห้องเรียนจำนวน 17
คน และกลุ่มที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ 1 ห้องเรียน จำนวน 18 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster random
sampling ) โดยการสุ่มเป็นห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียน
รู้คณิตศาสตร์์เรื่อง อัตราส่วน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 ด้วยรูปแบบซิปปาแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ จำนวน 9 แผน
ทำการสอนแผนละ 2 ชั่วโมง รวม 18 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง อัตราส่วน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้น
ปีที่ 1 ด้วยรูปแบบซิปปา ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือกจำนวน 30 ข้อ มีค่าอำนาจรายข้อจาก 0.28 ถึง 0.60 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ
0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดลองสมมุติฐานใช้สถิติ
t - test (Dependent samples)

Activities of teaching and learning processes resort CIPPA teaching process that were sequenced by
the learner is so important is committed to there search and development process. To integrate and to help
students with good grades and effective way of learning more. In the past, the majority of teachers do not
allow students to self-knowledge. Lack of knowledge and applications of the students do not see the importance
of learning as they should. The purposes of this study were: 1) the efficiency of mathematics learning on ratio
in first year vocational certificate students using CIPPA learning activity and normal learning activity that has
efficiency of 75/75, 2) to study the effect index of mathematics learning plans on ratio in first year vocational
certificate using CAPPA learning activity and normal learning activity, 3) to compare learning achievement
mathematics of first year vocational certificate students of learning on the ratio between using CIPPA learning
activity and normal learning activity, 4) to study a durability of mathematics learning about ratio of first year
vocational certificate students using CIPPA learning activity. The sample used in this study consisted of 2
groups, first year vocational certificate students, Udon Thani College of Business Administration and Tourism
in the first semester of the academic year 2014. They were selected by cluster random sampling, the first
group consisted 17 respondents used CIPPA learning activity and 18 respondents for the second group who
used normal learning activity both group were given a 30 item achievement test with multiple choice. The
instruments used were: 9 lesson plans, achievement test on ratio. The experiment was conducted for nine
weeks, 2 hours a week or a total of 18 hours. The statistics used for data analysis were mean, percentage
standard deviation and t-test for dependent samples.

Article Details

บท
บทความวิจัย