การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ Development of Mathematics Learning Activities on Fractions for Prathomsuksa 5 Using STAD Technique and the Skill Train

Main Article Content

ฑิฆัมพร ภูมิประสาท1 Tikhamporn Phumprasat1
มะลิวัลย์ ถุนาพรรณ์2 Maliwan Tunapan2
นิภาพร ชุติมันต์3 Nipaporn Chutiman3

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีความวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ และแผนการเรียนรู้แบบปกติ
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อศึกษาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดกิจกรรมการวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ และแผนการเรียนรู้แบบปกติ
3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึก
เสริมทักษะ และการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ
(STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง เศษส่วน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1
จำนวน 16 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน 18 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนบ้านหนองแวงแห่
ตำบลหนองใหญ่ อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
(Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องเศษส่วน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ STAD ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ จำนวน 9 แผน และแผนการจัดการ
เรียนรู้แบบปกติ จำนวน 9 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เป็น
แบบเลือกตอบชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ 3) แบบวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) จำนวน 20 ข้อ ผลการวิจัยพบว่า
1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ และแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ปกติมีประสิทธิภาพ 82/79.26 และ 80.83/77.50
2. ดัชนีประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ และดัชนีประสิทธิผลของ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ เท่ากับ 0.5745 และ 0.5143 ตามลำดับ
3. นกั เรียนทีเ่ รยี นดว้ ยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (STAD) เรือ่ ง เศษสว่ น มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสงู กวา่ นกั เรยี น
รู้ด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
4. นักเรียนที่ได้รับการเรียนด้วยการเรียนรู้แบบร่วมมือ (STAD) ร่วมกับการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ เรื่อง เศษส่วน มีระดับความ
พึงพอใจในการเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก

The purposes of this research were : (1) to develop the lesson plans of Mathematics Learning Activities
on Fractions for Prathomsuksa 5 using STAD technique and the skill training and the regular learning
management, the efficiency criteria of 75/75 (2) to find out an effectiveness index of plans for the organization
of Mathematics Learning Activities on Fractions for Prathomsuksa 5 using STAD technique and the skill training
and the regular learning management (3) to compare learning achievements between the organization using
STAD technique and the skill training and the regular learning management (4) to study the satisfaction of
students on their learning activities by the mathematics learning activitie using STAD technique and the skill
training. The sample groups used in this research were 16 students of Prathomsuksa 5/1 and 18 students of
Prathomsuksa 5/2 of Ban Nong Waeng Hae School in Tombon Nongyei Amp Phon Thong, Changwat Roi Et
in the first semester of the school year 2014,obtained through the cluster random sampling technique. There
were 3 types of the instrument used in the study. They were : (1) nine lesson plans of the mathematics learning
activitie using STAD technique and the skill training; and nine lesson plans of the regular learning management(2)
the achievement test on learning were 30 (3) the satisfaction of student’s test on their learning activities were
20 items
Reaearch were as follows :
1. The lesson plans of the Mathematics Learning Activities on Fractions for Prathomsuksa 5 using
STAD technique and regular learning management were 82/79.26 and 80.83/77.50
2. The effectiveness index of Activities STAD Learning with the using of skill and the effectiveness
index of regular learning management were 0.5745 and 0.5143, respectively.
3. The students who had the lesson plans of Activities STAD learning with the using of skill on fractions
got higher learning achievement the students who had regular learning management. They were statistically
different, significant at 0.05 level.
4. The students who had the Fractions using STAD technique were satisfied total in high level.
In conclusion, the students who had the lesson plans of the Mathematics Learning Activities on Fractions
technique and the skill training got higher learning achievement the students who had regular learning
management and The students who had were satisfied total in high level.The mathematic teachers should
apply this technique for their effective teaching-learning career.

Article Details

บท
บทความวิจัย