การเลือกตั้งท้องถิ่น:ข้อจำกัดของกระบวนการประชาธิปไตย

Main Article Content

สุพัฒน์จิตร ลาดบัวขาว

บทคัดย่อ

การเลือกตั้งท้องถิ่นถือเป็นรูปแบบหนึ่งในปกครองตามหลักประชาธิปไตยของประเทศไทย ซึ่งมิอาจมองข้ามได้ บทความนี้ทำการทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่น และทำการวิเคราะห์หาข้อจำกัดของกระบวนการประชาธิปไตยในมิติต่าง ๆ โดยอาศัยข้อมูลจากเอกสาร ตำรา บทความวิชาการ และงานวิจัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นต้น ผู้เขียนจึงขออธิบายเกี่ยวกับการเลือกตั้งท้องถิ่นกับกระบวนการประชาธิปไตย ซึ่งเนื้อหาในบทความนี้จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรก ผู้เขียนจะนำเสนอแนวความคิดการเลือกตั้งท้องถิ่นกับกระบวนการประชาธิปไตย ส่วนที่สอง ผู้เขียนจะกล่าวถึงบทวิเคราะห์ข้อจำกัดของกระบวนการประชาธิปไตยกับการเลือกตั้งท้องถิ่น และ ส่วนสุดท้าย ผู้เขียนเสนอถึงการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย และการให้ความสำคัญกับการเลือกตั้งท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กองบรรณาธิการสำนักกฎหมาย. (2558). ระบบการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภากับการพัฒนาการทางการเมืองของประเทศไทย.

จุลนิติ, 12(2), 1-28.

โกวิทย์ พวงงาม. (2559). ประชาธิปไตยทางตรงกับความสำคัญของชุมชนท้องถิ่น, ใน วุฒิสาร ตันไชย, อรทัย ก๊กผล, ธีรพรรณ ใจมั่น และ ภควัต อัจฉริยปัญญา, ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษใหม่ (KPIYEARBOOK). กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

ถวิลวดี บุรีกุล รัชวดี แสงมหะหมัด วิศิษฎ ชัชวาลทิพากร. (2558). รายงานผลการสำรวจความ คิดเห็นของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะและการทำงานของหน่วยงานต่าง ๆ พ.ศ.2557. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

ธเนศวร์ เจริญเมือง. (2540). 100 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. 2440 - 2540. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ธีรพรรณ ใจมั่น และ ภาสกร อินแหลง. (2547). ฐานข้อมูลการเลือกตั้งนายก อบจ. นนทบุรี : วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.

ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. (2558). ข้อเสนอระบบคัดสรรผู้แทนที่เหมาะสมกับสังคมไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 13(1), 5-27.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล. (2548). ประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Democracy).

กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

ประภาส ปิ่นตบแต่ง. (2551). ประชาธิปไตยทางตรง (Direct Democracy) ในบริบทปัญหาประชาธิปไตยแบบตัวแทน.” ใน

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ, ก้าว (ไม่) พ้นประชานิยม : แสวงหาประชาธิปไตย. (9-66). กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง

คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้งเรื่องผลการออกเสียง. (2559, 11 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 133 ตอนที่ 69 ก. หน้า 11.

ปัทมา สูบกำปัง. (2557). ระบบการคัดสรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของสังคมไทย. ใน รัฐธรรมนูญกลางแปลง : แนวทางการปฏิรูปเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย. พิมพ์ครั้งที่ 2, (153-183). กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

พฤทธิสาณ ชุมพล และ เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา (บรรณาธิการ). (2551). คำและความคิดในรัฐศาสตร์ ร่วมสมัย เล่ม 2.

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โภคิน พลกุล. (ม.ป.ป.). ปัญหาและข้อคิดบางเรื่องจากรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

มานิตย์ นวลละออ. (2543). การรณรงค์เพื่อต่อต้านการซื้อสิทธิ์-ขายเสียงทฤษฎีและการปฏิบัติ.

วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 26(1-6), 36-87.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2559). ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษ 21 : ทางตัน ทางออก และแนวทางแก้ไข. ในวุฒิสาร ตันไชย, อรทัย ก๊กผล,

ธีรพรรณ ใจมั่น และ ภควัต อัจฉริยปัญญา. (2559). ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษใหม่ (KPIYEARBOOK).

กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

วุฒิสาร ตันไชย. (2559). ประชาธิปไตย : บางมุมมองที่ถูกละเลย?. ใน วุฒิสาร ตันไชย, อรทัย ก๊กผล, ธีรพรรณ ใจมั่น และ

ภควัต อัจฉริยปัญญา. (2559). ประชาธิปไตยไทยในทศวรรษใหม่ (KPIYEARBOOK). กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

วุฒิสาร ตันไชย และ และ เอกวีร์ มีสุข. (2559). การปฏิรูปสถาบันและกระบวนการเพื่อเสริมสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่นในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.

สติธร ธนานิธิโชติ และ ธนพันธ์ ไล่ประกอบทรัพย์. (2560). ระบบการคัดสรรผู้สมัครรับเลือกตั้งในนามพรรคการเมือง : ทางเลือกและข้อเสนอเสนอแนะสำหรับประเทศไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 15(1), 6.

สมบัติ จันทรวงศ์ และคณะ.(2521).ปรัชญาการเมืองสมัยใหม่. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สายชล สัตยานุรักษ์. (2558). โครงการการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ : ประวัติศาสตร์สังคมไทย.

กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สันต์ชัย รัตนะขวัญ. (ม.ป.ป). ประชาธิปไตยท้องถิ่น. (21 มีนาคม 2561) สืบค้นจาก

http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=ประชาธิปไตยท้องถิ่น.

สุนทรชัย ชอบยศ และ รจนา คำดีเกิด. (2556). การเมืองภาคพลเมือง : การถอดถอนผู้บริหารท้องถิ่นที่ประสบความสำเร็จในประเทศไทย. รัฐสภาสาร, 61(5), 9-43.

สุรางค์รัตน์ จำเนียรพล. (2544). การสร้างประชาสังคมโดยรัฐ: การปรับตัวของรัฐไทย.

คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

อัญชลี พูลเต็ม. (2553). หลักการประชาธิปไตยตัวแทนกับทางปฏิบัติในกรณีประเทศไทย : ศึกษาเฉพาะกรณีของรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2545). ประชาธิปไตยท้องถิ่น : สาระสำคัญของการเมืองและการปกครองส่วนท้องถิ่น.

นนทบุรี : สำนักพิมพ์มิติใหม่.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2550). ประชาธิปไตยท้องถิ่น: แง่คิดเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะในระดับท้องถิ่น.

กรุงเทพฯ : มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ.

Andrew Heywood. (2000). Key Concepts in Politics. New York : Palgrave.

Arend Lijphart. (1984). Democracies : Patterns of Majoritarian and Consensus Government in Twenty-One Countries. New Haven and London : Yale University Press.

Benjamin R. Barber. (2003). Strong Democracy: Participatory Politics for a New Age. Berkeley,

Los Angeles : University of California Press.

Clarke, Paul A.B. and Joe Foweraker. (2001). Encyclopedia of Political Thought.

London and New York : Taylor & Francis.

Colin Rallings and Michael Thrasher. (1997). Local Elections in Britain. New York : Routledge.

David Beetham. (2003). Human Rights and Democracy. In Roland Axtmann Understanding Democratic Politics. London : SAGE Publications.

Ezrow, Lawrence. (2010). Linking Citizens and Parties : How Electoral Systems Matter for Political Representation. New York : Oxford University Press.

G. F. Gaus, C. Kukathas. (2004). Handbook of Political Theory. London : SAGE.

Goodwin-Gill, Guy S. (2006).Free and Fair Election : New Expanded Edition. Geneva : Inter Parliamentary Union.

Helena Catt. (1999). Democracy in Practice. New Zealand : Routledge.

Rod Hague and Martin Harrop. (2007). Comparative Government and Politics : An Introduction.

Hampshire : Palgrave Macmillan.

Smith, Graham. (2009).Democratic Innovations : Designing Institutions for Citizen Participation (Theories of Institutional Design). Cambridge : Cambridge University Press.

Strøm, Kaare. (2003).Parliamentary Democracy and Delegation. In Kaare Strøm, Wolfgang C. Müller, and Torbjörn Bergman, eds. Delegation and Accountability in Parliamentary Democracies. New York : Oxford University Press.

Thomas E. Cronin. (1989). Direct Democracy : The Politics of Initiative, Referendum, and Recall.

U.S.A. : Harvard University Press.