การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการผลิตครูสำหรับการศึกษายุค 4.0 โดยการวิเคราะห์สมรรถนะที่จำเป็นของครูในการศึกษายุค 4.0 วิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของการผลิตครูปัจจุบันในประเทศไทย วิเคราะห์การผลิตครูของประเทศที่ประสบความสำเร็จระดับนานาชาติ พัฒนา (ร่าง) รูปแบบการผลิตครูสำหรับการศึกษายุค 4.0 และตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับครูในการศึกษายุค 4.0 ประกอบด้วยสมรรถนะแกนกลางของการศึกษายุค 4.0 10 ด้านและ สมรรถนะวิชาชีพครู 6 ด้าน ส่วนผลการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนของการผลิตครูปัจจุบันในประเทศไทยพบว่าค่อนข้างมีจุดอ่อนมากกว่าจุดแข็ง ส่วนผลการวิเคราะห์การผลิตครูในประเทศฟินแลนด์และสิงค์โปร์พบบทเรียนที่ดีสำหรับประเทศไทย รูปแบบการผลิตครูที่ได้จากการวิจัยนี้มีชื่อว่า รูปแบบการผลิตครูที่เสริมสร้างความเป็นมืออาชีพและศักยภาพด้านนวัตกรรม มีองค์ประกอบหลัก 8 ด้าน
Article Details
ทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ร่มพฤกษ์เป็นทัศนะและข้อคิดเห็นของผู้เขียนมิใช่ทัศนะของมหาวิทยาลัยเกริกหรือกองบรรณาธิการ การนำบทความส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดไปพิมพ์เผยแพร่ต้องอ้างอิงที่มาให้ชัดเจน
References
กฤตธี วงศ์สถิต. (2560). 7 องค์ประกอบหลักสูตรโรงเรียนผลิตภาพ.ในไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ),โรงเรียน 4.0 : โรงเรียนผลิตภาพ (45-58). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ.
เฉลิมชัย มนูเสวต (2559). 24/7…ทุกคน ทุกวิชา ทุกภาคการศึกษา. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์(บรรณาธิการ), การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา(206-209). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ.
ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2559). การศึกษาสภาพและปัญหาการผลิต การใช้ และการพัฒนาครูการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคล้องกับความต้องการในอนาคต. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
ญาดา นิลประดิษฐ์. (2553). การเปรียบเทียบกิจกรรมเสริมความเป็นครูของนักศึกษาครูในมหาวิทยาลัยที่แตกต่างกัน : การวิจัยแบบผสม. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ดิเรก พรสีมา. (2559). ครูไทย 4.0. (4 พฤศจิกายน 2560). สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/news.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และ พรทิพย์ แข็งขัน. (2551). สมรรถนะครูและแนวทางการพัฒนาครูในสังคมที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2560). ทักษะ 7 C ของครู 4.0. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพชรสุดา ภูมิพันธุ์. (2560). หลักสูตรศึกษาศาสตร์/ครุศาสตร์ จะไปในทิศทางใด. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และนักรบ หมี้แสน (บรรณาธิการ). ครุศึกษาและการพัฒนาวิชาชีพครู. (31-45). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2559). การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. ศูนย์ตำราและเอกสารวิชาการวิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ.
ยืน ภู่วรวรรณ. (2558). นวัตกรรมการเรียนการสอนกับการศึกษาระบบ4.0. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 9(2), 133-156.
ราชบัณฑิตยสถาน, สำนักงาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
รสสุคนธ์ มกรมณี. (2553). การฝึกหัดครูของประเทศฟินแลนด์. วารสารการศึกษาไทย. 7(71), 33-38.
ฤตินันท์ สมุทร์ทัย และคณะ. (2556). การวิจัยนำร่องการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูสำหรับศตวรรษที่ 21. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เลขาธิการสภาการศึกษา, สำนักงาน. (2558). สถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : อาร์ แอนด์ เอ็น ปริ้นท์ จำกัด
ศักดิ์ชาย เพชรช่วย. (2558). อนาคตภาพการผลิตครูของสถาบันอุดมศึกษาไทย. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์. (2559). รายงานชุดการปฏิรูประบบบุคลากรค รู: ข้อเสนอการสร้างและคัดเลือกครูสอนดีรุ่นใหม่สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ.
สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ปกป้อง จันวิทย์ ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ ภาวิน ศิริประภานุกูล ภูมิศรัณย์ ทองเลี่ยมนาค วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง ศุภณัฎฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์. (2556). การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศ.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). พิมพ์เขียวและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน:Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน.
อเนก เทียนบูชา (2559). หลักสูตรระดับอุดมศึกษาที่มุ่งเน้นสมรรถนะ. วารสารจันทรเกษม, 22(43), 33-47.
อนุภาพ เลขะกุล. (2550). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. ใน ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (บรรณาธิการ), อาจารย์มืออาชีพ : แนวคิด เครื่องมือและการพัฒนา (66-73). กรุงเทพฯ : ควอท.
อนุสรณ์ นามประดิษฐ์. (2560). 7 วิธีการวัดและประเมินผลโรงเรียนผลิตภาพ. ใน ไพฑูรย์ สิลารัตน์ (บรรณาธิการ), โรงเรียน 4.0 : โรงเรียนผลิตภาพ (105-112). กรุงเทพฯ : วิทยาลัยครุศาสตร์ มธบ.
Berry, B., Byrd, A., & A. Wieder (2013). Teacherpreneurs: Innovative Teachers Who Lead But Don’t Leave. CA : Jossey-Bass.
Boss, S. (2012). Bringing Innovation to School : Empowering Students to Thrive in a Changing World. Bloomington : Solution Tree Press.
Claudia, C. (2014). The Role of Extracurricular Activities and Their Impact on Learning Process. (18 Sept. 2017). Retrieved from http://steconomiceuoradea.ro/volume/2014/.pdf.
Council of Chief State School Offices (CCSSO). (2013). Interstate Teacher Assessment and Support Consortium In TASC Model Core Teaching Standards and Learning Progressions for Teachers1.0. Washington, DC : Author.
Couros, G. (2015). The Innovator’s Mindset. CA : Dave Burgess Consulting, Inc.
Curth, A. (2011). Mapping of Teachers’ Preparation for Entrepreneurship Education. (18 September 2017). Retrieved from https://www.ab.gov.tr/files/ardb/evt/1_avrupa_birligi/1_9.../mapping_en.pdfDarling-Hammond,
L. (2006). Constructing 21st-century teacher education. Journal of Teacher Education, 57(5), 1-15.
European Commission(EC). (2013). Supporting teacher competence development for better learning outcome. (18 September 2017). Retrieved from http://ec.europa.eu/dgs/ education_culture/repository/education/policy/school/doc/teachercomp_en.pdf.
Ingersoll, R.M., (Eds.). (2007). A comparative study of teacher preparation and qualifications in six nations. PA, Philadelphia : Consortium for Policy Research in Education.
JISC. (2006). Designing spaces for effective learning : A guide to 21 century learning space design. (28 January 2017). Retrieved from http://www.jisc.ac.uk/media/documents/ publications/llearningspaces.pdf.
Korthagen, F., Loughran, J. & Russell, T. (2006). Developing fundamental principles for teacher education program and practices. Teaching and Teacher Education, 22, 1020-1041.
Lonka, K., Hietajavi, L., Moisala, M., Tuominen-Soini, H., & Vaara, J. (2015). Innovative schools: Teaching & learning in digital era. (28 January 2017). Retrieved from http://www
.europarl.europa.eu/thinktank/en/document.html?reference=IPOL_STU(2015)563389.
National Institute of Education (NIE) (2009) TE21: A teacher education model for the 21 st century. Singapore : NIE.
Neimi, H. (2013).The finish teacher education, teachers for equity and professional autonomy. Revista Espanola de Educacion Comparada, 22, 117-138.
Ruissmaki, J., Salomaa, R., & Ruokonen, I. (2015). Minerva Plaza- a new technology-rich learning environment. Procedia : Social and Behavioral Sciences, 171, 968-981.
SEAMEO INNOTECH (2010). Teaching competency standards in Southeast Asian Countries. (28 January 2017). Retrieved from http://seameo-innotech.org.
Stopsky, F. (2016). Towards the Fourth Revolution in Education. XLIBRIS.
Thorsteinsson, G. (2013). Ideation training via innovation education to improve students’ ethical maturation and social responsibility. Journal on Education Psychology, 6(4), 1-7.
Vidovic, V.V. & Velkovski, Z. (ed.). (2013). Teaching profession for the 21st Century : Advancing Teacher Professionalism for Inclusive, Quality and Relevant Education-ATEPIE. Belgrade : UNESCO Centre for Education Policy.
Wagner, T. (2012). Creating innovators: The making of young people who will change the world. NY: Scribner.
World Economic Forum. (2016). The 10 skills you need to thrive in the Fourth Industrial Revolution. (28 January 2017). Retrieved from https://www.weforum.org/agenda/2016/01/the-10 skills-you need-to-thrive-in-the-fourth-industrial-revolution.
Zao, Y. (2012). World class learners: Educating creative and entrepreneurial students. California : Cowin.