ผลกระทบที่เกิดจากการรายงานข้อมูลบุคคลที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะ

Main Article Content

ปิยนันท์ ศรีทองทิม
พิชญ์สินี ศรีสวัสดิ์

บทคัดย่อ

ปัจจุบันมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 48) พ.ศ. 2562 ขึ้นโดยมีสาระสำคัญเพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนในการนำส่งเงินภาษี การยื่นรายการหรือเอกสารเกี่ยวกับภาษีอากร ซึ่งสามารถดำเนินการโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ แต่ในส่วนของการรายงานข้อมูลของบุคคลที่สามที่มีธุรกรรมลักษณะเฉพาะให้กรมสรรพากรเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษีตามประมวลรัษฎากรนั้นอาจส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมต่างๆ ของบุคคลทั่วไป โดยเฉพาะบุคคลที่เป็นผู้ประกอบการขายสินค้าออนไลน์ที่เกรงกลัวต่อการติดตามตรวจสอบภาระภาษีจากกรมสรรพากร จนเป็นเหตุให้พยายามหาวิธีการต่างๆ มาหลีกเลี่ยงไม่ให้ธุรกรรมของตนเข้าข่ายที่จะต้องถูกรายงานได้ในบทความนี้ผู้เขียนจึงได้วิเคราะห์ประเด็นต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตอันเป็นผลกระทบจากการรายงานข้อมูลธุรกรรมที่มีลักษณะเฉพาะตามกฎหมายฉบับนี้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมสรรพากร. (2559). การดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ National e-Payment. (10 มกราคม 2563)

สืบค้นจาก http://www.rd.go.th/publish/seminar/e-Payment_2-3-6-7.pdf.

กรมสรรพากร. (2562). Q & A การให้สถาบันการเงินและผู้ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์รายงานข้อมูลเกี่ยว กับบุคคลที่มีธุรกรรม

ลักษณะเฉพาะ. (10 มกราคม 2563) สืบค้นจากhttp://www.rd.go.th /publish/fileadmin/download/Q&A_271162.pdf.

จุมพล นันทศิริพล. (2019). มาตรการปราบปรามการเงินนอกระบบของออสเตรเลีย.

วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 5(2), 621-634.

ฐิติมา ชูเชิด บวรวิชญ์ จินดารักษ์ ณัฐา ปิยะกาญจน์ ฐิติ ทศบวร สุพริศร์ สุวรรณิก อชรวัช ศรีสงคราม

ทศพล ต้องหุ้ย ธนพล กองพาลี และ อณิยา ฉิมน้อย. (2562). บริการทางการเงินดิจิทัลและนัยต่อ

การดำเนินนโยบายการเงินของไทย. (10 เมษายน 2563) สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai /MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/Paper_DigitalizationonFinancialServices.pdf.

ธวัลรัตน์ เชื้อวงศ์บุญ พามดา ชูวุฒยากร และ ชีวพร อินแสง. (2560). ปัญหาการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา :

กรณีตลาดออนไลน์บนเฟสบุ๊คในประเทศไทย ในปี 2560. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(2), 15-30.

บริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Payment. (2015). (10 มกราคม 2563) สืบค้นจาก

https:// www.trustmarkthai.com/index.php/component/dbd/main?Layout= blogdetail &id=79.

ภาวุธ พงษ์วิทยภาณุ. (2562). กฎหมาย e-Payment ในปีนี้กับผลกระทบในปีหน้า. (10 มกราคม 2563)

สืบค้นจาก https://www.prachachat.net/ict/news-308232.

ยุทธนา ศรีสวัสดิ์. (ม.ป.ป.). ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ. (10 มกราคม 2563) สืบค้นจาก https://www.itax. in.th/pedia/%E0%B8%98%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%

E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B8%B0%

E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%B0.

รังสรรค์ หลวงเมือง อัครพล ทาแก้ว และ เสริมศักดิ์ มัยญะกิต. (2019). รู้เรื่องกฎหมายใหม่ เข้าใจ e-Payment

(เอกสารเผยแพร่กรมสรรพากร). (10 มกราคม 2563) สืบค้นจาก

http://econs.co.th /index.php/2019/06/01/understandepaymentact/.

วิลาสินี สิทธิโสภณ. (ม.ป.ป.). การควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์. (10 มกราคม 2563)

สืบค้นจาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php? nid=1754.

วิวัฒณ์ ขันธเขตต์ และ สิงหะ ฉวีสุข. (2562). การยอมรับระบบการชำระเงินอิเล็กทรอนิกส์ของกลุ่มคนวัยทำงานใน

เขตภาคกลาง ประเทศไทย. วารสารการบริหารและการจัดการ. 9(1), 153-164.

อนุชิต ศิริรัชนีกร. (ม.ป.ป.). National e-Payment พลิกโฉมประเทศไทย สู่การใช้ digital payment. (10 มกราคม 2563)

สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications /articles/Pages/Article_24Jan2019.aspx.

อานันท์ เกียรติสารพิภพ. (2563). กฎหมายภาษีe-Payment. (10 มกราคม 2563) สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/giventake/content_royrueng/2563/rr2563-jan5.pdf.

Logistictime. (2560). ภาษี e-Commerce ทางออกของปัญหาการค้าออนไลน์ จริงหรือ..? (10 มกราคม 2563)

สืบค้นจาก http://www.logisticstime.net/archives/8074.

Praornpit Katchwattana. (2562). บทลงโทษกฎหมายอีเพย์เมนท์ (e-Payment) ปี 2562 ที่คนขายของออนไลน์

ต้องรู้ก่อนคิดจะเลี่ยงภาษี. (10 มกราคม 2563) สืบค้นจาก

https://www.salika.co /2019/03/23/e-payment-law-2562-online-seller/.